xs
xsm
sm
md
lg

ดาราศาสตร์

4 เครือข่ายวิทยาศาสตร์ไทย ร่วมนำเสนอผลงานการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง พัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดฝีมือคนไทย
4 เครือข่ายวิทยาศาสตร์ไทย ร่วมนำเสนอผลงานการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง พัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดฝีมือคนไทย
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง ครั้งที่ 6 ได้รับเกียรติจาก สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน เป็นเจ้าภาพในครั้งนี้ นำเสนอผลงานการพัฒนาเทคโนโลยีและวิศวกรรมขั้นสูง
ซินโครตรอน กระทรวง อว. เป็นเจ้าภาพจัดประชุมวิศวกรรมขั้นสูงครั้งที่ 6 ตั้งเป้าพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดโดยคนไทย
ซินโครตรอน กระทรวง อว. เป็นเจ้าภาพจัดประชุมวิศวกรรมขั้นสูงครั้งที่ 6 ตั้งเป้าพัฒนากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดโดยคนไทย
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เปิดบ้านเป็นเจ้าภาพจัดงาน Advanced Engineering Workshop ครั้งที่ 6 รวมผู้เชี่ยวชาญจาก 10 หน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ฯ เผย 20 มี.ค.นี้ ตรงกับ "วันวสันตวิษุวัต" เวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ฯ เผย 20 มี.ค.นี้ ตรงกับ "วันวสันตวิษุวัต" เวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ฯ เผยวันที่ 20 มีนาคม 2568 ตรงกับ วันวสันตวิษุวัต เป็นวันที่มีช่วงเวลากลางวันและกลางคืนเท่ากัน นับเป็นวันที่ประเทศทางซีกโลกเหนือ ย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ผลิ และประเทศทางซีกโลกใต้ย่างเข้าสู่ฤดูใบไม้ร่วง
เหตุใดวันที่ 20 มีนาคม จึงเรียกว่า “วันวสันตวิษุวัต” วันที่เค้าว่า “กลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน”
เหตุใดวันที่ 20 มีนาคม จึงเรียกว่า “วันวสันตวิษุวัต” วันที่เค้าว่า “กลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน”
ในช่วงวันที่ 20 มีนาคม ของทุกๆ ปี เป็นช่วงเวลาที่โลกของเรามีช่วงเวลากลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน ในวันนี้เรียกว่า “วันวสันตวิษุวัต” จุดที่ดวงอาทิตย์อยู่ในตำแหน่งตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตรของโลกพอดี
(ชมคลิป ) นาที “วงแหวนแห่งไฟ” แห่งซีกโลกใต้ ภาพงดงามที่ทำให้ทั่วโลกตราตรึง สุริยุปราคาครั้งที่ 2 ของปี 2024
(ชมคลิป ) นาที “วงแหวนแห่งไฟ” แห่งซีกโลกใต้ ภาพงดงามที่ทำให้ทั่วโลกตราตรึง สุริยุปราคาครั้งที่ 2 ของปี 2024
“สุริยุปราคาวงแหวน” ที่เกิดขึ้นในวันที่ 2 - 3 ตุลาคม 2024 นี้ เป็นปรากฏการณ์ดวงจันทร์อยู่ห่างโลกจนมีขนาดปรากฏเล็กกว่าดวงอาทิตย์ จึงทำให้บดบังได้ไม่หมดยังเหลือขอบของดวงอาทิตย์ ทำให้มองแล้วเหมือนวงแหวน
NARIT เผยภาพ ดาวหางจื่อจินซาน - แอตลัส ขณะกำลังโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด และจะโคจรกลับมาอีกครั้งในอีก 80,660 ปีข้างหน้า
NARIT เผยภาพ ดาวหางจื่อจินซาน - แอตลัส ขณะกำลังโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด และจะโคจรกลับมาอีกครั้งในอีก 80,660 ปีข้างหน้า
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ NARIT เผยภาพ ดาวหางจื่อจินซาน-แอตลัส หรือ C/2023 A3 โดยในวันที่ 28 กันยายน 2567 นี้ เป็นช่วงที่ดาวหางกำลังโคจรเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด ระยะห่างประมาณ 58.6 ล้านกิโลเมตร