xs
xsm
sm
md
lg

AJA

ข่าวบิดเบือน! การกิน Low carb ทำให้ฮอร์โมนผิดปกติ นอนไม่หลับและแก่เร็ว
ข่าวบิดเบือน! การกิน Low carb ทำให้ฮอร์โมนผิดปกติ นอนไม่หลับและแก่เร็ว
จากกรณีคำแนะนำในเรื่องการกิน Low carb ทำให้ฮอร์โมนผิดปกติ นอนไม่หลับและแก่เร็ว ทางโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่าข้อมูลดังกล่าวไม่มีรายละเอียดที่ชัดเจน ซึ่งการกินอาหารในปริมาณที่เหมาะสมทั้ง 5 หมู่ มีความจำเป็นต่อร่างกาย แต่การเหมารวมว่าการกิน Low carbohy
ข่าวบิดเบือน! กินแคลเซียม แมกนีเซียม และวิตามินดี 3 10,000 IU ช่วยรักษาอาการ PMS ปวดก่อนมีประจำเดือน
ข่าวบิดเบือน! กินแคลเซียม แมกนีเซียม และวิตามินดี 3 10,000 IU ช่วยรักษาอาการ PMS ปวดก่อนมีประจำเดือน
จากเรื่องที่มีการเผยแพร่ว่ากินแคลเซียม แมกนีเซียม และวิตามินดี 3 10,000 IU ช่วยรักษาอาการ PMS ปวดก่อนมีประจำเดือน ทางโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ชี้แจงว่าอาการข้างต้นมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน ทำให
ข่าวบิดเบือน! โรค PCOS หายได้เพียงกินวิตามินดี คีโต+IF ลดความเครียด และ Inositol (B8)
ข่าวบิดเบือน! โรค PCOS หายได้เพียงกินวิตามินดี คีโต+IF ลดความเครียด และ Inositol (B8)
จากกรณีที่มีผู้เผยแพร่คลิปเกี่ยวกับโรค PCOS หายได้เพียงกินวิตามินดี คีโต+IF ลดความเครียด และ Inositol (B8) ทางโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบข้อมูลและชี้แจงว่ายังไม่มีข้อมูลที่โรค PCOS หายได้จากการรักษาด้ว
ข่าวปลอม! วัยหนุ่มสาวที่สุขภาพดี ค่าความดันอยู่ที่ 120/80 ผู้สูงวัยที่แข็งแรง ความดันอยู่ที่ 140/90
ข่าวปลอม! วัยหนุ่มสาวที่สุขภาพดี ค่าความดันอยู่ที่ 120/80 ผู้สูงวัยที่แข็งแรง ความดันอยู่ที่ 140/90
จากกรณีที่มีการส่งต่อข้อความว่า วัยหนุ่มสาวที่สุขภาพดี ค่าความดันอยู่ที่ 120/80 ผู้สูงวัยที่แข็งแรง ความดันอยู่ที่ 140/90 ทางโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบโพสต์ดังกล่าวและชี้แจงข้อเท็จจริงว่าเป็นการกล่าวอ้างข้อมูลการวิจัยโดยไม่มีข้อมูลประกอบ จึงสรุปได้ว่าข้อมูลดังกล่าวเ
ข่าวปลอม! การดึงผมช่วยทำให้ หายปวดหัวหรือไมเกรน เนื่องจากเลือดไม่ไหลเวียน
ข่าวปลอม! การดึงผมช่วยทำให้ หายปวดหัวหรือไมเกรน เนื่องจากเลือดไม่ไหลเวียน
จากกรณีที่มีการส่งต่อคลิปวิดีโอเกี่ยวกับเรื่องการดึงผมช่วยทำให้ หายปวดหัวหรือไมเกรน เนื่องจากเลือดไม่ไหลเวียน ทางโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบโพสต์ดังกล่าวและชี้แจงข้อเท็จจริงว่าไม่พบข้อมูลทางวิชาการที่ยืนยันข้อมูลดังกล่าว และทางทฤษฎีไม่พบความสัมพันธ์ของการดึง