มื่อเร็วๆนี้ (วชช.)จัดประชุมวิชาการจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่าย วิทยาลัยชุมชนภาคเหนือ เรื่อง “ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2 วิทยาลัยชุมชนกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน” ให้แก่ประชาชนในจังหวัดน่านและจังหวัดใกล้เคียง มุ่งเน้นให้การศึกษาและฝึกอบรมด้านวิชาการและวิชาชีพ ตามความต้องการของชุมชนและส่งเสริมให้มีการพัฒนาอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและชุมชน
รองศาสตราจารย์ชวนี ทองโรจน์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า การจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน : เครือข่ายวิทยาลัยชุมชนภาคเหนือ เป็นหนึ่งในสี่กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน การพัฒนาที่ยั่งยืน ดูแลแรงงานที่ออกจากภาคเกษตร การเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาและเติมเต็มศักยภาพบุคล ความเข้มแข็งชุมชน” คืออะไร ? ความเข้มแข็งของชุมชนแบ่งออกเป็น 3 มิติ มีความรู้ ความเข้าใจ ภูมิปัญญาอาชีพ วิถีปฏิบัติที่ดี มีความยั่งยืน ความสุขความสงบร่มเย็น
การวางวิทยาลัยชุมชน (Positioning) ในทศวรรษที่สอง นโยบาย วชช. จัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งและตรึงคนอยู่ในพื้นที่ เพื่อผลักดันให้ไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มประชากรวัยแรงงาน (Non Age Group) อายุ 22 ปีขึ้นไป และเสริมด้วยผู้ด้อยโอกาสการศึกษา กระบวนการเรียนรู้มุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้เรียน ให้คิดเป็น ทำเป็นและสร้างปัญญา จัดการเรียนการสอนและฝึกอบรมในเรื่องที่ชุมชนต้องการและเสริมสร้างให้เกิดนวัตกรรมวิทยาลัยชุมชน บทบาทการสร้างความเข้มแข็งชุมชนในช่วงที่ผ่านมา จัดการศึกษา/ฝึกอบรม เพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายในจังหวัดที่ขาดโอกาสทางการศึกษา เข้าไม่ถึงการศึกษา (ระดับปัจเจกบุคคล) หลักสูตรอนุปริญญา ปวส. และ ปวประกาศนียบัตร หลักสูตรฝึกอบรม รศ.ชวนี กล่าว.
“ จุดเปลี่ยนของ วชช. วิทยาลัยชุมชนเดินตามกระแสหลักของอุดมศึกษาที่มุ่งปริญญาโครงสร้างการจัดการเรียนการสอนเน้นความรู้เชิงวิชาการ มากกว่าการส่งเสริมทักษะ การประกอบอาชีพ ความหลากหลาย และความแตกต่างระหว่างบุคคลสูงมาก การประกอบอาชีพและการแบ่งเวลาเพื่อการเรียนรู้ บทบาทการสร้างความเข้มแข็งชุมชนตามนโยบาย วชช. การจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน (ระดับกลุ่มบุคคล หรือชุมชน) โดยใช้กระบวนทัศน์ในการปรับวิธีทำงานใหม่หลักสูตรอนุปริญญา ปวส. และ ปวช. ประกาศนียบัตร หลักสูตรฝึกอบรม “ภายใต้พันธกิจเดิมโดยกระบวนทัศน์ใหม่ ในการจัดการศึกษา/ฝึกอบรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งชุมชน ของวิทยาลัยชุมชน (นโยบาย กวชช. ชุดปัจจุบัน)สอนคนชุมชน โดยคนชุมชน ใช้โจทย์ชุมชน เพื่อพัฒนาชุมชน การทบทวนนโยบายการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยชุมชน ตามมติ กวชช .รูปแบบที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นชุมชน : TRACK วิทยาลัยชุมชนต่อยอดโครงการจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนมุ่งส่งเสริมความร่วมมือ การพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ตอบสนองความต้องการ มิติเศรษฐกิจ การสร้างรายได้ การเป็นผู้ประกอบการ ความสงบ และสันติสุขในชุมชน รูปบบที่ 2 การจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ : TRACK อาชีพการเลือกสรรอาชีพที่มีความต้องการระดับชาติ – ท้องถิ่น มุ่งเน้นความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ เพื่อการประกอบอาชีพ (Competency based Education)จัดในรูปชุดการเรียนรู้ (Modular System) National Certificate และ Institutional Certificate รูปแบบที่ 3 การจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา : TRACK อนุปริญญาศึกกษาต่อระดับปริญญาที่มีคุณภาพสูงมีความยืดหยุ่น และเอื้ออำนวยให้เกิดการเรียนรู้ที่ทันสมัย ปรับเข้าสู่ระบบ Modular และ หลักสูตรฐานสมรรถนะ เป็นกระบวนการของสถานศึกษาที่ต้องการปรับเปลี่ยนหลักการจัดการศึกษาที่เน้นองค์ความรู้ที่ได้จากอาจารย์ (ตำรา) ไปสู่ความสามารถในการปฏิบัติงานของผู้เรียนเป็นการ ศึกษาที่มุ่งเน้นผลของการศึกษา คือ สมรรถนะที่ตอบสนองความต้องการในตลาดแรงงานที่กำหนดโดย นายจ้าง หรือ มืออาชีพ สมรรถนะโดยธรรมชาติแล้วจะมีความซับซ้อนและมีปัญหาในการวัดและการประเมิน การจัดการเรียนรู้ระบบ Module การจัดกลุ่มหรือองค์ประกอบของกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน เพื่อการประกอบอาชีพในระดับต่าง ๆ
อย่างไรก็ตาม การประชุมวิชาการจัดการความรู้เสริมสร้างความเข้มแข็ง เครือข่ายวิทยาลัยชุมชนภาคเหนือ เพื่อคัดเลือกโครงการต้นแบบในการดำเนินงานตามโครงการดังกล่าว โดยนำเสนอผลงานทางวิชาการของบุคลากรวิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งที่วิทยาลัยชุมชนทุกแห่งได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาจังหวัดให้มีความเจริญก้าวหน้าด้านวิชาการและด้านวิชาชีพ อันเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาประเทศต่อไป
รองศาสตราจารย์ชวนี ทองโรจน์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวว่า การจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน : เครือข่ายวิทยาลัยชุมชนภาคเหนือ เป็นหนึ่งในสี่กลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน การพัฒนาที่ยั่งยืน ดูแลแรงงานที่ออกจากภาคเกษตร การเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาและเติมเต็มศักยภาพบุคล ความเข้มแข็งชุมชน” คืออะไร ? ความเข้มแข็งของชุมชนแบ่งออกเป็น 3 มิติ มีความรู้ ความเข้าใจ ภูมิปัญญาอาชีพ วิถีปฏิบัติที่ดี มีความยั่งยืน ความสุขความสงบร่มเย็น
การวางวิทยาลัยชุมชน (Positioning) ในทศวรรษที่สอง นโยบาย วชช. จัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งและตรึงคนอยู่ในพื้นที่ เพื่อผลักดันให้ไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มประชากรวัยแรงงาน (Non Age Group) อายุ 22 ปีขึ้นไป และเสริมด้วยผู้ด้อยโอกาสการศึกษา กระบวนการเรียนรู้มุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ของผู้เรียน ให้คิดเป็น ทำเป็นและสร้างปัญญา จัดการเรียนการสอนและฝึกอบรมในเรื่องที่ชุมชนต้องการและเสริมสร้างให้เกิดนวัตกรรมวิทยาลัยชุมชน บทบาทการสร้างความเข้มแข็งชุมชนในช่วงที่ผ่านมา จัดการศึกษา/ฝึกอบรม เพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายในจังหวัดที่ขาดโอกาสทางการศึกษา เข้าไม่ถึงการศึกษา (ระดับปัจเจกบุคคล) หลักสูตรอนุปริญญา ปวส. และ ปวประกาศนียบัตร หลักสูตรฝึกอบรม รศ.ชวนี กล่าว.
“ จุดเปลี่ยนของ วชช. วิทยาลัยชุมชนเดินตามกระแสหลักของอุดมศึกษาที่มุ่งปริญญาโครงสร้างการจัดการเรียนการสอนเน้นความรู้เชิงวิชาการ มากกว่าการส่งเสริมทักษะ การประกอบอาชีพ ความหลากหลาย และความแตกต่างระหว่างบุคคลสูงมาก การประกอบอาชีพและการแบ่งเวลาเพื่อการเรียนรู้ บทบาทการสร้างความเข้มแข็งชุมชนตามนโยบาย วชช. การจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน (ระดับกลุ่มบุคคล หรือชุมชน) โดยใช้กระบวนทัศน์ในการปรับวิธีทำงานใหม่หลักสูตรอนุปริญญา ปวส. และ ปวช. ประกาศนียบัตร หลักสูตรฝึกอบรม “ภายใต้พันธกิจเดิมโดยกระบวนทัศน์ใหม่ ในการจัดการศึกษา/ฝึกอบรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งชุมชน ของวิทยาลัยชุมชน (นโยบาย กวชช. ชุดปัจจุบัน)สอนคนชุมชน โดยคนชุมชน ใช้โจทย์ชุมชน เพื่อพัฒนาชุมชน การทบทวนนโยบายการจัดการเรียนรู้ของวิทยาลัยชุมชน ตามมติ กวชช .รูปแบบที่ 1 การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นชุมชน : TRACK วิทยาลัยชุมชนต่อยอดโครงการจัดการความรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนมุ่งส่งเสริมความร่วมมือ การพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ตอบสนองความต้องการ มิติเศรษฐกิจ การสร้างรายได้ การเป็นผู้ประกอบการ ความสงบ และสันติสุขในชุมชน รูปบบที่ 2 การจัดการศึกษาเพื่อการประกอบอาชีพ : TRACK อาชีพการเลือกสรรอาชีพที่มีความต้องการระดับชาติ – ท้องถิ่น มุ่งเน้นความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ เพื่อการประกอบอาชีพ (Competency based Education)จัดในรูปชุดการเรียนรู้ (Modular System) National Certificate และ Institutional Certificate รูปแบบที่ 3 การจัดการศึกษาระดับอนุปริญญา : TRACK อนุปริญญาศึกกษาต่อระดับปริญญาที่มีคุณภาพสูงมีความยืดหยุ่น และเอื้ออำนวยให้เกิดการเรียนรู้ที่ทันสมัย ปรับเข้าสู่ระบบ Modular และ หลักสูตรฐานสมรรถนะ เป็นกระบวนการของสถานศึกษาที่ต้องการปรับเปลี่ยนหลักการจัดการศึกษาที่เน้นองค์ความรู้ที่ได้จากอาจารย์ (ตำรา) ไปสู่ความสามารถในการปฏิบัติงานของผู้เรียนเป็นการ ศึกษาที่มุ่งเน้นผลของการศึกษา คือ สมรรถนะที่ตอบสนองความต้องการในตลาดแรงงานที่กำหนดโดย นายจ้าง หรือ มืออาชีพ สมรรถนะโดยธรรมชาติแล้วจะมีความซับซ้อนและมีปัญหาในการวัดและการประเมิน การจัดการเรียนรู้ระบบ Module การจัดกลุ่มหรือองค์ประกอบของกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน เพื่อการประกอบอาชีพในระดับต่าง ๆ
อย่างไรก็ตาม การประชุมวิชาการจัดการความรู้เสริมสร้างความเข้มแข็ง เครือข่ายวิทยาลัยชุมชนภาคเหนือ เพื่อคัดเลือกโครงการต้นแบบในการดำเนินงานตามโครงการดังกล่าว โดยนำเสนอผลงานทางวิชาการของบุคลากรวิทยาลัยชุมชนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งที่วิทยาลัยชุมชนทุกแห่งได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาจังหวัดให้มีความเจริญก้าวหน้าด้านวิชาการและด้านวิชาชีพ อันเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาประเทศต่อไป