xs
xsm
sm
md
lg

โรงงานนิวเคลียร์

อย.ไม่ห้ามนำเข้า "อาหารทะเลญี่ปุ่น" หลังโรงงานนิวเคลียร์ปล่อยน้ำเสีย ปักหมุดเรดโซนดักจับทุกด่าน เพิ่มสุ่มตรวจกัมมันตรังงสี 2 เท่า
อย.ไม่ห้ามนำเข้า "อาหารทะเลญี่ปุ่น" หลังโรงงานนิวเคลียร์ปล่อยน้ำเสีย ปักหมุดเรดโซนดักจับทุกด่าน เพิ่มสุ่มตรวจกัมมันตรังงสี 2 เท่า
อย.ถกกรมประมง ปส. - สทน. ยันไม่ห้ามนำเข้า อาหารทะเล จากญี่ปุ่น หลังปล่อยน้ำเสียจากโรงงานนิวเคลียร์ฟูกุชิมะลงทะเล แต่ปักหมุดเป็นพื้นที่เรดโซน ดักจับทุกกรณีตั้งแต่ที่ด่านนำเข้า ย้ำมีการตรวจมาตั้งแต่ปี 2554 ไม่พบปนเปื้อนกัมมันตรังส
จีนเริ่มทดสอบรังสีกับอาหารทะเลที่นำเข้าจากญี่ปุ่น​
จีนเริ่มทดสอบรังสีกับอาหารทะเลที่นำเข้าจากญี่ปุ่น​
เกียว#8203;โด#8203;นิวส์#8203;รายงาน#8203; (19#8203; ก.ค.)#8203; จีนได้เริ่มการทดสอบรังสีปนเปื้อนแบบครอบคลุมกับอาหารทะเลที่นำเข้าจากญี่ปุ่น#8203; ความเคลื่อนไหวซึ่งถูกมองว่าเป็นการกดดันแผนการที่จะปล่อยน้ำกัมมันตภาพรังสีผ่านการบำบัดแล้วจากโรงงานนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ
ฮ่องกงเล็งแบนอาหารทะเลจาก 10 พื้นที่ในญี่ปุ่น หากฟุกุชิมะปล่อยน้ำ
ฮ่องกงเล็งแบนอาหารทะเลจาก 10 พื้นที่ในญี่ปุ่น หากฟุกุชิมะปล่อยน้ำ
เกียวโด#8203;นิวส์#8203;รายงาน#8203; (13#8203; ก.ค)#8203; เซี่ย#8203; ชิน-วาน#8203; รัฐมนตรีกระทรวงสิ่งแวดล้อมและนิเวศวิทยาของฮ่องกงกล่าวเมื่อวันพุธว่า#8203; เมืองจะห้ามนำเข้าอาหารทะเลจาก 10 จังหวัดของญี่ปุ่น หากประเทศนี้ดำเนินแผนการปล่อยน้ำกัมมันตภาพรังสี
เกาหลีใต้ยอมรับรายงาน IAEA เกี่ยวกับแผนปล่อยน้ำฟุกุชิมะ
เกาหลีใต้ยอมรับรายงาน IAEA เกี่ยวกับแผนปล่อยน้ำฟุกุชิมะ
เกียว#8203;โด#8203;นิวส์#8203;รายงาน#8203; (5#8203; ก.ค.)#8203; รัฐบาลเกาหลีใต้ยอมรับผลการทบทวนความปลอดภัยของสำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศเกี่ยวกับแผนการของญี่ปุ่นที่จะปล่อยน้ำกัมมันตภาพรังสีที่ผ่านการบำบัดแล้วจากโรงงานนิวเคลียร์ฟุกุชิมะลงสู่ทะเล
กลัวเชอร์โนบิล 2 มา! “โปแลนด์” เริ่มระดมแจก “เม็ดไอโอดีน” ให้ประชาชนหลังวิตกหนักสู้รบ มิสไซล์รัสเซีย 9 ลูกลงห่างออกไปแค่ 50 กม.
กลัวเชอร์โนบิล 2 มา! “โปแลนด์” เริ่มระดมแจก “เม็ดไอโอดีน” ให้ประชาชนหลังวิตกหนักสู้รบ มิสไซล์รัสเซีย 9 ลูกลงห่างออกไปแค่ 50 กม.
วอร์ซอเริ่มมีความวิตกถึงการโจมตีที่หนักหน่วงรอบโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ Zaporizhzhia ของยูเครนที่อาจเกิดเหตุไม่คาดฝันเหมือนเช่นโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิลในยูเครนเมื่อปี 1986 ตัดสินใจกระจายเม็ดไอโอดีนที่จะใช้เป็นยาต้านสารกัมมันตภ