xs
xsm
sm
md
lg

วันครีษมายัน

เหตุใดวันที่ 20 มี.ค. ของทุกปี จึงเรียกว่า “วันวสันตวิษุวัต” และเป็นวันที่กลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน
เหตุใดวันที่ 20 มี.ค. ของทุกปี จึงเรียกว่า “วันวสันตวิษุวัต” และเป็นวันที่กลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน
 
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 365 ในแต่ละวันดวงอาทิตย์จะปรากฏให้เห็นในตำแหน่งต่างกัน ซึ่งในทุกๆ ปี ก็จะมีวันที่เวลากลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน ซึ่งก็คือ “วันวสันตวิษุวัต”
 

วิทยาศาสตร์

สดร.เผย 20 มี.ค.“วันวสันตวิษุวัติ”เวลากลางวันยาวเท่ากับกลางคืน
 
เพจสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์ระบุว่า 20 มีนาคม 2567 วันวสันตวิษุวัติ (Vernal Equinox) เวลากลางวันยาวเท่ากับกลางคืน ในวันนั้นดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี นับเป็นวันเริ่มต้นฤดูใบไม้ผลิของประเทศทางซีก
 

ทันเหตุการณ์

สดร.เผย 22 ธ.ค.นี้ “วันเหมายัน”กลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี
 
เพจสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์ระบุว่า 22 ธันวาคมนี้ วันเหมายัน (Winter Solstice) กลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี ประเทศทางซีกโลกเหนือเข้าสู่ฤดูหนาว ส่วนประเทศทางซีกโลกใต้เข้าสู่ฤดูร้อนวันเหมายัน (อ่านว่า เห-มา-ยัน) คือ วันที่มี
 

ทันเหตุการณ์

22 ธันวาคม (เหมายัน) พระอาทิตย์ขึ้น – ตก เฉียงใต้มากที่สุด เวลากลางวันสั้น - กลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี
22 ธันวาคม (เหมายัน) พระอาทิตย์ขึ้น – ตก เฉียงใต้มากที่สุด เวลากลางวันสั้น - กลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี
 
ทุกๆ ปี ในแต่ละวัน ดวงอาทิตย์จะปรากฏอยู่ตำแหน่งที่แตกต่างกันบนท้องฟ้า สำหรับในวันที่ 22 ธันวาคม ของทุกปี ถือเป็น “วันเหมายัน” ปรากฏพระอาทิตย์ขึ้น – ตก เฉียงไปทางใต้มากที่สุด เวลากลางวันสั้น - กลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี
 

วิทยาศาสตร์

“วันวสันตวิษุวัต”เวลากลางวันยาวเท่ากับกลางคืน 21 มี.ค.นี้
 
เพจสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์ระบุว่า “วสันตวิษุวัต” (วะ-สัน-ตะ-วิ-สุ-วัด) (Vernal Equinox) ช่วงเวลากลางวันยาวเท่ากับกลางคืน คำว่า “วิษุวัต” (Equinox) เป็นภาษาสันสกฤตหมายถึง “จุดราตรีเสมอภาค” จุดที่ดวงอาทิตย์อยู่ในตำแหน่งต
 

ทันเหตุการณ์

เตรียมพบช่วงเวลากลางคืนที่ยาวนานที่สุดในรอบปี 13 ชั่วโมง 21 นาที  22 ธันวาคมนี้ "วันเหมายัน"
เตรียมพบช่วงเวลากลางคืนที่ยาวนานที่สุดในรอบปี 13 ชั่วโมง 21 นาที 22 ธันวาคมนี้ "วันเหมายัน"
 
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ NARIT เผย ในวันที่ 22 ธันวาคม 2565 เป็นวันเหมายัน วันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด ส่งผลให้ช่วงเวลากลางวันสั้นที่สุด
 

วิทยาศาสตร์

ครั้งที่ 2 ของปี! กลางวันยาวนานเท่ากลางคืน 23 กันยายน “วันศารทวิษุวัต”
ครั้งที่ 2 ของปี! กลางวันยาวนานเท่ากลางคืน 23 กันยายน “วันศารทวิษุวัต”
 
ในทุกๆ ปี วันที่ 23 กันยายน ถือได้ว่าเป็น “วันศารทวิษุวัต” หนึ่งในปรากฏการณ์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการขึ้น – ตกของดวงอาทิตย์ ในวันดังกล่าวดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตกพอดี ทำให้ช่วงเวลากลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน
 

วิทยาศาสตร์