xs
xsm
sm
md
lg

เหมายัน

สดร.เผย 22 ก.ย.นี้ "วันศารทวิษุวัต" เวลากลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน
เพจสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์ระบุว่า 22 ก.ย. นี้ วันศารทวิษุวัต เวลากลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน นับเป็นวันเริ่มต้นสู่ฤดูใบไม้ร่วงของประเทศทางซีกโลกเหนือ และเริ่มต้นสู่ฤดูใบไม้ผลิของประเทศในซีกโลกใต้วันศารทวิษุวัต (อ่า
สดร.เผย 22 ก.ย.นี้"วันศารทวิษุวัต" เวลากลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน
เพจสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์ระบุว่า 22 ก.ย. นี้ วันศารทวิษุวัต เวลากลางวันยาวนานเท่ากับกลางคืน นับเป็นวันเริ่มต้นสู่ฤดูใบไม้ร่วงของประเทศทางซีกโลกเหนือ และเริ่มต้นสู่ฤดูใบไม้ผลิของประเทศในซีกโลกใต้วันศารทวิษุวัต (อ่า
22 ธันวาคม (เหมายัน) พระอาทิตย์ขึ้น – ตก เฉียงใต้มากที่สุด เวลากลางวันสั้น - กลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี
22 ธันวาคม (เหมายัน) พระอาทิตย์ขึ้น – ตก เฉียงใต้มากที่สุด เวลากลางวันสั้น - กลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี
ทุกๆ ปี ในแต่ละวัน ดวงอาทิตย์จะปรากฏอยู่ตำแหน่งที่แตกต่างกันบนท้องฟ้า สำหรับในวันที่ 22 ธันวาคม ของทุกปี ถือเป็น “วันเหมายัน” ปรากฏพระอาทิตย์ขึ้น – ตก เฉียงไปทางใต้มากที่สุด เวลากลางวันสั้น - กลางคืนยาวนานที่สุดในรอบปี
เตรียมพบช่วงเวลากลางคืนที่ยาวนานที่สุดในรอบปี 13 ชั่วโมง 21 นาที  22 ธันวาคมนี้ "วันเหมายัน"
เตรียมพบช่วงเวลากลางคืนที่ยาวนานที่สุดในรอบปี 13 ชั่วโมง 21 นาที 22 ธันวาคมนี้ "วันเหมายัน"
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ NARIT เผย ในวันที่ 22 ธันวาคม 2565 เป็นวันเหมายัน วันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด ส่งผลให้ช่วงเวลากลางวันสั้นที่สุด
ครั้งที่ 2 ของปี! กลางวันยาวนานเท่ากลางคืน 23 กันยายน “วันศารทวิษุวัต”
ครั้งที่ 2 ของปี! กลางวันยาวนานเท่ากลางคืน 23 กันยายน “วันศารทวิษุวัต”
ในทุกๆ ปี วันที่ 23 กันยายน ถือได้ว่าเป็น “วันศารทวิษุวัต” หนึ่งในปรากฏการณ์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการขึ้น – ตกของดวงอาทิตย์ ในวันดังกล่าวดวงอาทิตย์จะขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตกพอดี ทำให้ช่วงเวลากลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน