xs
xsm
sm
md
lg

ประชากรไทย

"หมอยง" เผยภูมิต้านทานที่เกิดจากติดเชื้อโควิดหลังรับวัคซีนจะสูงมาก
นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊ก “Yong Poovorawan” ระบุว่า ภูมิต้านทานที่เกิดขึ้นจากการติดเชื้อโควิด-19 หลังได้รับวัคซีน อยู่ใ
"หมอยง" เผยไทยตั้งเป้าฉีดวัคซีน ปชช.ครบ 2 เข็ม ไม่น้อยกว่า 70% ภายในสิ้นปีนี้
นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซบุ๊กวันนี้ (20 พ.ย.) ว่า จากข้อมูลที่หลายประเทศตระหนักถึงการลดลงของภูมิต้านทานที่เกิดขึ้นจากการฉีด
ปลัด พม.ระบุ ปี 68 ไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จำนวนคนแก่ทะลุ 16 ล้านคน
นายปรเมธี วิมลศิริ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กล่าวปาฐกถาพิเศษ ในหัวข้อ การสนับสนุนบทบาทครอบครัวเพื่อการปรับสมดุลโครงสร้างประชากรและคุณภาพประชากรไทย ในงานสัมมนาประจำปี เรื่อง ครอบครัวไทยยุคเกิดน้อยอายุยืน : ทา
เพิ่มประชากร หรือ พัฒนาคนให้สร้างหุ่นยนต์มาทำงานแทนคนได้
เพิ่มประชากร หรือ พัฒนาคนให้สร้างหุ่นยนต์มาทำงานแทนคนได้
เราต้องยอมรับกันก่อนว่าทุกวันนี้ประเทศไทยขาดแคลนแรงงานแสนสาหัส เราเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุ (Aging society) แล้วและกำลังเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุเต็มตัว (Aged society) เมื่อราว 60 ปีที่แล้วเกิด baby boomer หลังสงครามโลกครั้งที่สอง และนับจากปี 2500 จนถึงปี 2535 มีคลื่นสึนามิประชากร โดยประเทศไทยมีเด็กเกิดมากกว่าหนึ่งล้านคนต่อมีติดต่อกันอย่างต่อเนื่องกว่า 35 ปี
แกนนำชาติไทยพัฒนาเข้าให้ความเห็นแนวทางสร้างความปรองดอง
นายธีระ วงศ์สมุทร หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา พร้อมด้วยนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล นายนิกร จำนง ที่ปรึกษาหัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา และคณะ รวม 10 คน พูดคุยเพื่อหาแนวทางสร้างความสามัคคีปรองดอง กับคณะอนุกรรมการรับฟังความเห็นเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ที่มี พล.อ.
“คนพร้อม” ไม่ท้อง “คนไม่พร้อม” ท้องกันจัง วิกฤตคุณภาพประชากรไทย
“คนพร้อม” ไม่ท้อง “คนไม่พร้อม” ท้องกันจัง วิกฤตคุณภาพประชากรไทย
ประเทศไทยขณะนี้กำลังเผชิญปัญหา “เด็กเกิดน้อย...ด้อยคุณภาพ” เรื่องนี้เกิดขึ้นจากสาเหตุหลักๆ สำคัญ 2 ประการคือ 1. คนที่มีความพร้อม ทั้งด้วยวัยและหน้าที่การงาน กลับแต่งงานช้าลง อยู่เป็นโสดมากขึ้น รวมถึงมีลูกช้า ซึ่งการมีลูกช้าจะส่งผลต่อความเสี่ยงทางสุขภาพของเด็กที่เกิดมาด้วย และ 2. คนที่ไม่พร้อม เช่น วัยเรียน วัยรุ่น กลับมีการตั้งครรภ์และคลอดสูงมาก