เป็นข่าวใหญ่ช่วงเย็นของวันที่ 6 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ซึ่งเรียกทุกสายตาและความสนใจให้พุ่งไปที่ข่าวนี้ กับการกินยานอนหลับหวังฆ่าตัวตายของดาราชื่อดัง “แตงโม-ภัทรธิดา พัชรวีระพงษ์” ซึ่งยังความสงสัยใคร่รู้ในสาเหตุแห่งสถานการณ์ดังกล่าว
จากคำบอกเล่าของเพื่อนสนิทของดาราชื่อดัง ระบุว่า แตงโมนั้นมีโรคประจำตัวอยู่สองประเภท คือ “โรคซึมเศร้า” และ “แพนิก” สำหรับประเภทแรก หลายคนคงคุ้นเคยกันค่อนข้างดีอยู่แล้ว แต่เจ้าโรคที่มีชื่อว่า “แพนิก” นี่สิ มันคืออะไร
เซ็กชั่น Good Health & Well-Being ไปอ่านเจอข้อมูลจากเพจ “พิชิตแพนิกได้..ในสามสิบวัน” เพราะเห็นว่ามีประโยชน์ ทั้งต่อการทำความเข้าใจกับโรคนี้ ตลอดจนวิธีสังเกต และดูแลรักษา ถ้าหากต้องเผชิญกับโรคดังกล่าว
กลุ่มเสี่ยง
ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ใช้ชีวิตในเมืองใหญ่ ใช้ชีวิตเร่งรีบเกินไป ตื่นสาย รีบกินอาหารไวเกินไป อยู่หน้าคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ ไม่กินข้าวเช้า นอนดึก พักผ่อนไม่เพียงพอ จริงจังกับชีวิต อยู่ในสภาวะกดดันเป็นประจำ ไม่ออกกำลังกาย หายใจสั้นๆ ติดมือถือ เล่นคอมพ์เป็นเวลานาน อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดี มีนิสัยเป็นคนคิดมาก ชอบคิดทำอะไรหลายๆ อย่างในช่วงเวลาเดียวกัน เคยมีอดีตที่ฝังใจ เคยอกหัก เคยสูญเสีย เคยมีผลกระทบกะจิตใจมาก่อน และส่วนหนึ่ง เป็นเพราะกรรมพันธุ์ คือมีประวัติญาติหรือคนในครอบครัวเคยเป็นโรคนี้มาก่อน ทั้งนี้ รวมถึงคุณแม่หลังคลอด ที่ไม่ได้อยู่ไฟ ก็จะเป็นโรคนี้ได้เช่นกัน
วิธีการรักษา
แนวทางรักษาแพนิกด้วยวิธีธรรมชาติ
การรักษาโรคนี้ให้หายขาด คือ เราต้องหยุดพฤติกรรมทั้งหมดที่ทำร้ายสมอง อย่ามีข้ออ้าง หันมาดูแลตัวเอง กินนอนให้เป็นเวลา หันมากินอาหารเช้าข้อนี้สำคัญมาก ออกกำลังกาย หยุดเล่นมือถือเป็นเวลานานโดยเฉพาะ เกมแคนดี้ ไพ่แท็กทัส เกมพวกนี้ ทำให้เรามีความเครียดสะสม เนื่องเราจะรู้สึกเครียดเวลาเราเล่นไม่ไม่ผ่านด่านสักที หรือรู้สึกเซ็งเวลาเล่นเกมไพ่แท็กซัสแล้วเสีย กลายเป็นความเครียดสะสมโดยเราไม่รู้ตัว
เลือกออกกำลังที่ทำให้เรารู้สึกสนุกกับการเล่นกีฬา เช่น ตีแบดมินตัน ตีปิงปอง ฝึกโยคะ คือเล่นอะไรก็ได้ ที่รู้สึกสนุก ได้หัวเราะไปกะการเล่น การที่เราได้เล่นกีฬาอะไรก็ตามที่ได้เล่นกะเพื่อน มันจะทำให้เรารู้สึกสนุกมากกว่าการที่เราออกกำลังกายคนเดียว
ฝึกนั่งสมาธิ การนั่งสมาธิทำให้เราเกิดสติ และไม่ฟุ้งซ่าน เมื่อมีสติอาการกลัวต่างๆ จะน้อยลง โรคนี้ไม่ตายอย่ากลัว บางคนเป็นมา 10 ปี ยังรอดมาได้ ดังนั้น อย่าตื่นตระหนก พยายามตั้งสติเวลาอาการมาเยือน ออกไปใช้ชีวิตปกติ ไปเดินเล่น ร้องเพลง เต้นรำ เดินห้าง ทำกิจกรรมกับเพื่อนๆสนุกสนานร่าเริง ให้ชีวิตได้หัวเราะบ้าง โรคแพนิกกลัวการหัวเราะที่สุด ผู้เขียนขอยืนยัน การดมยาหอมช่วยระงับอาการได้ดีมากระหว่างมีอาการ หรือจะซื้อมาทานขณะมีอาการก็ได้ แล้วแต่สะดวก
ทานยา
ในรายที่เป็นมากจนไม่สามารถคุมอาการด้วยตนเองได้ แนะนำว่าต้องพึ่งยา เพราะยาจะช่วยให้เราปรับสมดุลสารเคมีในสมองได้เร็วขึ้น เหมือนเวลาเราปวดหัวแล้วเราทานยาแก้ปวด ก็จะหายปวดเร็วกว่า การที่เราปล่อยให้มันหายปวดเอง การทานยาช่วยในการรักษาได้ 70 ถึง 80 เปอร์เซนต์
จากคำบอกเล่าของเพื่อนสนิทของดาราชื่อดัง ระบุว่า แตงโมนั้นมีโรคประจำตัวอยู่สองประเภท คือ “โรคซึมเศร้า” และ “แพนิก” สำหรับประเภทแรก หลายคนคงคุ้นเคยกันค่อนข้างดีอยู่แล้ว แต่เจ้าโรคที่มีชื่อว่า “แพนิก” นี่สิ มันคืออะไร
เซ็กชั่น Good Health & Well-Being ไปอ่านเจอข้อมูลจากเพจ “พิชิตแพนิกได้..ในสามสิบวัน” เพราะเห็นว่ามีประโยชน์ ทั้งต่อการทำความเข้าใจกับโรคนี้ ตลอดจนวิธีสังเกต และดูแลรักษา ถ้าหากต้องเผชิญกับโรคดังกล่าว
แพนิกคืออะไร อาการแพนิกเกิดจากฮอร์โมนลดกะทันหัน ทำให้สารสื่อในสมองผิดปกติ คล้ายกระแสไฟฟ้ารัดวงจร ส่งผลให้ประสาทอัตโรมัติทำงานผิดพลาด พูดง่ายๆ สมองรวน ทำให้สมองหลั่งสารตื่นตระหนกออกมาเอง อาการที่เป็น เหมือนคนกำลังจะคุมตัวเองไม่ได้ จะวูบ เป็นลม แขนขาไม่มีแรง เดินเหมือนร่างกายโคลงเคลง ใจลอย ใจสั่น ใจหวิว รู้สึกใจหาย หน้ามืด เวียนหัว หายใจไม่ค่อยออก กลัวตาย เหมือนร่างกายเราเปลี่ยนไป กำลังจะตาย จิตตก กำลังจะเป็นบ้า มือชา เท้าชา รู้สึกร้อนวูบวาบ ทั้งที่ไม่เคยเป็นคนขี้กลัว แต่ไม่รู้กลัวอะไร ประมาณนี้ ( มันเหมือนจะตายจริงๆ เวลาเกิดอาการ) หลังอาการแพนิกสงบลง ผู้ป่วยมักรู้สึกอ่อนเพลียไม่ค่อยมีแรง และกังวลว่าอาการจะกลับมากำเริบอีก |
กลุ่มเสี่ยง
ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ใช้ชีวิตในเมืองใหญ่ ใช้ชีวิตเร่งรีบเกินไป ตื่นสาย รีบกินอาหารไวเกินไป อยู่หน้าคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ ไม่กินข้าวเช้า นอนดึก พักผ่อนไม่เพียงพอ จริงจังกับชีวิต อยู่ในสภาวะกดดันเป็นประจำ ไม่ออกกำลังกาย หายใจสั้นๆ ติดมือถือ เล่นคอมพ์เป็นเวลานาน อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดี มีนิสัยเป็นคนคิดมาก ชอบคิดทำอะไรหลายๆ อย่างในช่วงเวลาเดียวกัน เคยมีอดีตที่ฝังใจ เคยอกหัก เคยสูญเสีย เคยมีผลกระทบกะจิตใจมาก่อน และส่วนหนึ่ง เป็นเพราะกรรมพันธุ์ คือมีประวัติญาติหรือคนในครอบครัวเคยเป็นโรคนี้มาก่อน ทั้งนี้ รวมถึงคุณแม่หลังคลอด ที่ไม่ได้อยู่ไฟ ก็จะเป็นโรคนี้ได้เช่นกัน
อันตรายแค่ไหน? โรคแพนิก ไม่มีอันตราย ไม่ทำให้ผู้ป่วยตาย หรือเป็นโรคร้ายแรง อาการนี้ทำให้เกิดความไม่สบายใจเท่านั้น ยิ่งผู้ป่วยกังวลมาก อาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น เรียกว่า อาการแพนิก หรือ แปลว่าตื่นตระหนก นั่นเอง |
วิธีการรักษา
แนวทางรักษาแพนิกด้วยวิธีธรรมชาติ
การรักษาโรคนี้ให้หายขาด คือ เราต้องหยุดพฤติกรรมทั้งหมดที่ทำร้ายสมอง อย่ามีข้ออ้าง หันมาดูแลตัวเอง กินนอนให้เป็นเวลา หันมากินอาหารเช้าข้อนี้สำคัญมาก ออกกำลังกาย หยุดเล่นมือถือเป็นเวลานานโดยเฉพาะ เกมแคนดี้ ไพ่แท็กทัส เกมพวกนี้ ทำให้เรามีความเครียดสะสม เนื่องเราจะรู้สึกเครียดเวลาเราเล่นไม่ไม่ผ่านด่านสักที หรือรู้สึกเซ็งเวลาเล่นเกมไพ่แท็กซัสแล้วเสีย กลายเป็นความเครียดสะสมโดยเราไม่รู้ตัว
เลือกออกกำลังที่ทำให้เรารู้สึกสนุกกับการเล่นกีฬา เช่น ตีแบดมินตัน ตีปิงปอง ฝึกโยคะ คือเล่นอะไรก็ได้ ที่รู้สึกสนุก ได้หัวเราะไปกะการเล่น การที่เราได้เล่นกีฬาอะไรก็ตามที่ได้เล่นกะเพื่อน มันจะทำให้เรารู้สึกสนุกมากกว่าการที่เราออกกำลังกายคนเดียว
ข้อห้าม อย่าไปออกกำลังโดยการวิ่ง เนื่องจากโรคแพนิกก็คือโรคภาวะทางจิตโรคหนึ่ง คือโรควิตกกังวล การวิ่งทำให้เรากังวลในขณะออกกำลังกาย พอกังวล เวลาหัวใจเต้นเร็ว เราก็จะเริ่มกลัว พอกลัวอาการก็จะมา และก็จะกลัวการออกกำลังไปในที่สุด ไม่กล้าที่จะออกกำลังอีก ทั้งที่การออกกำลังกายคือการที่ทำให้หัวใจแข็งแรงและระบบหมุนเวียนโลหิตและความดันดีขึ้น อย่ากลัวเวลามีอาการให้ปล่อยวาง อย่าตื่นตระหนก ให้สูดลมหายใจเข้าออกลึกๆ ช้าๆ คิดเสียว่าโรคนี้ไม่ตาย เดี๋ยวมันก็หายไป เมื่อร่างกายผ่อนคลายอาการต่างๆ จะทุเลาลง |
ฝึกนั่งสมาธิ การนั่งสมาธิทำให้เราเกิดสติ และไม่ฟุ้งซ่าน เมื่อมีสติอาการกลัวต่างๆ จะน้อยลง โรคนี้ไม่ตายอย่ากลัว บางคนเป็นมา 10 ปี ยังรอดมาได้ ดังนั้น อย่าตื่นตระหนก พยายามตั้งสติเวลาอาการมาเยือน ออกไปใช้ชีวิตปกติ ไปเดินเล่น ร้องเพลง เต้นรำ เดินห้าง ทำกิจกรรมกับเพื่อนๆสนุกสนานร่าเริง ให้ชีวิตได้หัวเราะบ้าง โรคแพนิกกลัวการหัวเราะที่สุด ผู้เขียนขอยืนยัน การดมยาหอมช่วยระงับอาการได้ดีมากระหว่างมีอาการ หรือจะซื้อมาทานขณะมีอาการก็ได้ แล้วแต่สะดวก
ทานยา
ในรายที่เป็นมากจนไม่สามารถคุมอาการด้วยตนเองได้ แนะนำว่าต้องพึ่งยา เพราะยาจะช่วยให้เราปรับสมดุลสารเคมีในสมองได้เร็วขึ้น เหมือนเวลาเราปวดหัวแล้วเราทานยาแก้ปวด ก็จะหายปวดเร็วกว่า การที่เราปล่อยให้มันหายปวดเอง การทานยาช่วยในการรักษาได้ 70 ถึง 80 เปอร์เซนต์
ที่เหลืออยู่ที่การปรับการใช้ชีวิตประจำวัน ถึงเราทานยารักษาหายขาดแล้ว และเรากลับไปใช้ชีวิตเหมือนเดิม อาการต่างๆ ก็กลับมาเป็นอีก วนเวียนอยู่อย่างนี้ ดังนั้น วีธีรักษาที่ยั่งยืนที่สุดคือ การปรับการใช้ชีวิตของเรา |