ASTVผู้จัดการรายวัน - ตลาดงบโฆษณาเริ่มพลิก ช่วง 7 เดือนแรกทะลุ 8 หมื่นล. โต 24% เผยสื่อทีวีดิจิตอลพุ่งขึ้น 1,000% ด้านสื่ออินสโตร์ตกหนักสุด50%
บริษัท นีลเส็น (ประเทศไทย) จำกัด รายงานว่า ตลาดโฆษณาเดือนกรกฎาคมเดือนเดียวปี 2558 มีมูลค่า 11,814 ล้านบาท เติบโต 17% จากเดือนเดียวกันปี 2557 ที่มีมูลค่า 10,080 ล้านบาท โดยแยกเป็น สื่อทีวีอะนาล็อกมูลค่า 5,026 ล้านบาท ลดลง 8% จากเดิมมี 5,465 ล้านบาท สื่อเคเบิล/ทีวีดาวเทียมมูลค่า 558 ล้านบาท เพิ่ม 5% จากเดิมมี 530 ล้านบาท สื่อทีวีดิจิตอลมูลค่า 2,978 ล้านบาท เพิ่ม 271% จากเดิมมี 802 ล้านบาท สื่อวิทยุมูลค่า 496 ล้านบาท เพิ่ม 6% จากเดิมมี 467 ล้านบาท สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 1,036 ล้านบาท ลดลง 4% จากเดิมมี 1,089 ล้านบาท สื่อนิตยสารมูลค่า 316 ล้านบาท ลดลง 19% จากเดิมมี 392 ล้านบาท สื่อโรงหนังมูลค่า 542 ล้านบาท เพิ่ม 19% จากเดิมมี 453 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 349 ล้านบาท เพิ่ม 6% จากเดิมมี 327 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มูลค่า 394 ล้านบาท เพิ่ม 26% จากเดิมมี 312 ล้านบาท สื่ออินสโตร์มูลค่า 28 ล้านบาท ลดลง 83% จากเดิมมี 172 ล้านบาท สื่ออินเทอร์เน็ตมูลค่า 62 ล้านบาท เพิ่ม 29% จากเดิมมี 71 ล้านบาท
สำหรับงบรวมช่วง 7 เดือนแรกปี 2558 มีมูลค่ารวม 80,781 ล้านบาท เพิ่ม 24% เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปี 2557 ที่มีมูลค่า 65,133 ล้านบาท แยกเป็นสื่อทีวีอะนาล็อกมูลค่า 34,264 ล้านบาท ลดลง 8% จากเดิมมี 37,302 ล้านบาท สื่อเคเบิล/ทีวีดาวเทียมมูลค่า 3,512 ล้านบาท ลดลง 26% จากเดิมมี 4,770 ล้านบาท สื่อทีวีดิจิตอลมูลค่า 21,678 ล้านบาท เพิ่ม 1,029% จากเดิมมี 1,920 ล้านบาท สื่อวิทยุมูลค่า 3,124 ล้านบาท เพิ่ม 2% จากเดิมมี 3,036 ล้านบาท สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 7,023 ล้านบาท ลดลง 2% จากเดิมมี 7,208 ล้านบาท สื่อนิตยสารมูลค่า 2,378 ล้านบาท ลดลง 13% จากเดิมมี 2,737 ล้านบาท สื่อโรงหนังมูลค่า 2,785 ล้านบาท เพิ่ม 20% จากเดิมมี 2,317 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 2,459 ล้านบาท เพิ่ม 5% จากเดิมมี 2,335 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มูลค่า 2,454 ล้านบาท เพิ่ม 18% จากเดิมมี 2,067 ล้านบาท สื่ออินสโตร์มูลค่า 475 ล้านบาท ลดลง 50% จากเดิมมี 957 ล้านบาท สื่ออินเทอร์เน็ตมูลค่า 628 ล้านบาท เพิ่ม 29% จากเดิมมี 486 ล้านบาท
ส่วน 3 บริษัทที่ใช้งบโฆษณาสูงสุดในเดือนกรกฎาคมปี 2558 เทียบปี 2557 คือ 1.ยูนิลีเวอร์ ไทย โฮลดิ้ง ใช้งบ 933 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 686 ล้านบาท 2.สำนักนายกรัฐมนตรี ใช้งบ 422 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 109 ล้านบาท 3.โตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย ใช้งบ 290 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 238 ล้านบาท ขณะที่ช่วง 7 เดือนแรกปี 2558 เทียบปี 2557 พบว่า 3 บริษัทที่งบใช้โฆษณาสูงสุดคือ 1.ยูนิลีเวอร์ไทยโฮลดิ้ง ใช้งบ 5,601 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 5,207 ล้านบาท 2.ไบเออร์สดร๊อฟ ประเทศไทย ใช้งบ 2,108 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,329 ล้านบาท 3.โตโยต้ามอเตอร์สประเทศไทย ใช้งบ 1,966 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,678 ล้านบาท
สำหรับแบรนด์สินค้าที่ใช้งบโฆษณาสูงสุด 3 อันดับแรกเดือนกรกฎาคม 2558 เรียก 2557 คือ 1. ไทยประกันีวิตจ ใช้งบ 140 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ช้แค่ 2 ล้นบาท 2.ซิตร้า บอดี้สกินแคร์ ใช้งบ 124 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 64 ล้านบาท 3.โตโยต้าพาสเซนเจอร์คาร์ ใช้งบ 117 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 91 ล้านบาท ขณะที่ 3 แบรนด์สินค้าที่ใช้งบโฆษณาสูงสุด 3 อันดับแรกในช่วง 7 เดือนแรกปี 2558 เทียบ 2557 คือ 1. โตโยต้าพาสเซนเจอร์คาร์ ใช้งบ 891 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 682 ล้านบาท 2.เครื่องดื่มโค้ก ใช้งบ 670 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 659 ล้านบาท 3.โตโยต้าปิคอัพ ใช้งบ 604 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 487 ล้านบาท
บริษัท นีลเส็น (ประเทศไทย) จำกัด รายงานว่า ตลาดโฆษณาเดือนกรกฎาคมเดือนเดียวปี 2558 มีมูลค่า 11,814 ล้านบาท เติบโต 17% จากเดือนเดียวกันปี 2557 ที่มีมูลค่า 10,080 ล้านบาท โดยแยกเป็น สื่อทีวีอะนาล็อกมูลค่า 5,026 ล้านบาท ลดลง 8% จากเดิมมี 5,465 ล้านบาท สื่อเคเบิล/ทีวีดาวเทียมมูลค่า 558 ล้านบาท เพิ่ม 5% จากเดิมมี 530 ล้านบาท สื่อทีวีดิจิตอลมูลค่า 2,978 ล้านบาท เพิ่ม 271% จากเดิมมี 802 ล้านบาท สื่อวิทยุมูลค่า 496 ล้านบาท เพิ่ม 6% จากเดิมมี 467 ล้านบาท สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 1,036 ล้านบาท ลดลง 4% จากเดิมมี 1,089 ล้านบาท สื่อนิตยสารมูลค่า 316 ล้านบาท ลดลง 19% จากเดิมมี 392 ล้านบาท สื่อโรงหนังมูลค่า 542 ล้านบาท เพิ่ม 19% จากเดิมมี 453 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 349 ล้านบาท เพิ่ม 6% จากเดิมมี 327 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มูลค่า 394 ล้านบาท เพิ่ม 26% จากเดิมมี 312 ล้านบาท สื่ออินสโตร์มูลค่า 28 ล้านบาท ลดลง 83% จากเดิมมี 172 ล้านบาท สื่ออินเทอร์เน็ตมูลค่า 62 ล้านบาท เพิ่ม 29% จากเดิมมี 71 ล้านบาท
สำหรับงบรวมช่วง 7 เดือนแรกปี 2558 มีมูลค่ารวม 80,781 ล้านบาท เพิ่ม 24% เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปี 2557 ที่มีมูลค่า 65,133 ล้านบาท แยกเป็นสื่อทีวีอะนาล็อกมูลค่า 34,264 ล้านบาท ลดลง 8% จากเดิมมี 37,302 ล้านบาท สื่อเคเบิล/ทีวีดาวเทียมมูลค่า 3,512 ล้านบาท ลดลง 26% จากเดิมมี 4,770 ล้านบาท สื่อทีวีดิจิตอลมูลค่า 21,678 ล้านบาท เพิ่ม 1,029% จากเดิมมี 1,920 ล้านบาท สื่อวิทยุมูลค่า 3,124 ล้านบาท เพิ่ม 2% จากเดิมมี 3,036 ล้านบาท สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 7,023 ล้านบาท ลดลง 2% จากเดิมมี 7,208 ล้านบาท สื่อนิตยสารมูลค่า 2,378 ล้านบาท ลดลง 13% จากเดิมมี 2,737 ล้านบาท สื่อโรงหนังมูลค่า 2,785 ล้านบาท เพิ่ม 20% จากเดิมมี 2,317 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 2,459 ล้านบาท เพิ่ม 5% จากเดิมมี 2,335 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มูลค่า 2,454 ล้านบาท เพิ่ม 18% จากเดิมมี 2,067 ล้านบาท สื่ออินสโตร์มูลค่า 475 ล้านบาท ลดลง 50% จากเดิมมี 957 ล้านบาท สื่ออินเทอร์เน็ตมูลค่า 628 ล้านบาท เพิ่ม 29% จากเดิมมี 486 ล้านบาท
ส่วน 3 บริษัทที่ใช้งบโฆษณาสูงสุดในเดือนกรกฎาคมปี 2558 เทียบปี 2557 คือ 1.ยูนิลีเวอร์ ไทย โฮลดิ้ง ใช้งบ 933 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 686 ล้านบาท 2.สำนักนายกรัฐมนตรี ใช้งบ 422 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 109 ล้านบาท 3.โตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย ใช้งบ 290 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 238 ล้านบาท ขณะที่ช่วง 7 เดือนแรกปี 2558 เทียบปี 2557 พบว่า 3 บริษัทที่งบใช้โฆษณาสูงสุดคือ 1.ยูนิลีเวอร์ไทยโฮลดิ้ง ใช้งบ 5,601 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 5,207 ล้านบาท 2.ไบเออร์สดร๊อฟ ประเทศไทย ใช้งบ 2,108 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,329 ล้านบาท 3.โตโยต้ามอเตอร์สประเทศไทย ใช้งบ 1,966 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,678 ล้านบาท
สำหรับแบรนด์สินค้าที่ใช้งบโฆษณาสูงสุด 3 อันดับแรกเดือนกรกฎาคม 2558 เรียก 2557 คือ 1. ไทยประกันีวิตจ ใช้งบ 140 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ช้แค่ 2 ล้นบาท 2.ซิตร้า บอดี้สกินแคร์ ใช้งบ 124 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 64 ล้านบาท 3.โตโยต้าพาสเซนเจอร์คาร์ ใช้งบ 117 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 91 ล้านบาท ขณะที่ 3 แบรนด์สินค้าที่ใช้งบโฆษณาสูงสุด 3 อันดับแรกในช่วง 7 เดือนแรกปี 2558 เทียบ 2557 คือ 1. โตโยต้าพาสเซนเจอร์คาร์ ใช้งบ 891 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 682 ล้านบาท 2.เครื่องดื่มโค้ก ใช้งบ 670 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 659 ล้านบาท 3.โตโยต้าปิคอัพ ใช้งบ 604 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 487 ล้านบาท