ASTVผู้จัดการรายวัน - ตลาดงบโฆษณรวม เดือนมิถุนายนเดือนเดียวเติบโต 21% มูลค่า 11,791 ล้านบาท ส่งผลครึ่งปีแรกทะลุ 68,938 ล้านบาท เติบโตถึง 25.21% เผยสื่อทีวีอะนาล็อกร่วง 8% สวนทางสื่อทีวีดิจิตอลพุ่ง 1,500%
รายงานข่าวจาก บริษัท เนลสัน ประเทศไทย จำกัด ระบุว่า ตลาดงบโฆษณาเดือนมิถุนายน เดือนเดียว ปี2558 มูลค่า 11,791 ล้านบาท เพิ่มจากเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 2557 ที่มีมูลค่า 9,711 ล้านบาท หรือเพิ่ม 21.42% โดยสื่อทีวีอะนาล็อก มีมูลค่า 4,809 ล้านบาท ลดลง 13% จากเดิมมูลค่า 5,531 ล้านบาท สื่อเคเบิล/ทีวีดาวเทียม มูลค่า 537 ล้านบาท โต 5.29% จากเดิมมี 510 ล้านบาท สื่อทีวีดิจิตอลมูลค่า 3,332 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 549.51% จากเดิมมูลค่า 513 ล้านบบาท สื่อวิทยุมีมูลค่า 499 ล้านบาท เพิ่ม 8.95% จากเดิมที่มี 458 ล้านบาท
สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 1,057 ล้านบาท ลดลง 2.67% จากเดิมมี 1,086 ล้านบาท สื่อนิตยสารมูลค่า 325 ล้านบาท ลดลง 17.93% จากเดิมที่มี 396 ล้านบาท สื่อโรงหนังมีมูล่า 406 ล้านบาท เพิ่ม 28% จากเดิมที่มี 317 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมีมูลค่า 360 ล้านบาท เพิ่ม 7.78% จากเดิมที่มี 334 ล้านบาท สื่อ เคลื่อนที่ มีมูลค่า 354 ล้านบาท เพิ่ม 7.93% จากเดิมที่มี 328 ล้านบาท สื่ออินสโตร์ มีมูลค่า 26 ล้านบาท ลดลง 84.24% จากเดิมที่มี 165 ล้านบาท และสื่ออินเทอร์เน็ตมีมูลค่า 85 ล้านบาท เพิ่ม 18.06% จากเดิมที่มี 72 ล้านบาท
ทั้งนี้ส่งผลให้ตลาดรวมช่วงครึ่งปีแรกปี 2558 มีมูลค่า 68,938 ล้านบาท เพิ่ม 25.21% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วที่มีมูค่า 55,056 ล้านบาท โดยแยกเป็นสื่อที่เพิ่มขึ้นคือ ทีวีดิจิตอล มูลค่า 18,701 ล้านบาท เพิ่ม 1,572.72% จากเดิมที่มี 1,118 ล้านบาท สื่อวิทยุมีมูลค่า 2,628 ล้านบาท เพิ่ม 2.30% จากเดิมที่มี 2,569 ล้านบาท สื่อโรงหนัง มีมูลค่า 2,243 ล้านบาท เพิ่ม 20.33% จากเดิมที่มี 1,864 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 2,111 ล้านบาท เพิ่ม 5.08% จากเดิมมูลค่า 2,009 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มูลค่า 2,058 ล้านบาท เพิ่ม 3.19% จากเดิมที่มี 1,754 ล้านบาท และสื่ออินเทอร์เน็ตมีมูลค่า 536 ล้านบาท เพิ่ม 29.16% จากเดิมที่มี 415 ล้านบาท
ขณะที่สื่อที่ตกลงในช่วง 6 เดือนแรกนี้คือ สื่อทีวีอะนาล็อก มูลค่า 29,239 ล้านบาท ลดลง 8.16% จากเดิม 31,837 ล้านบาท สื่อเคเบิล/ทีวีดาวเทียมมูลค่า 2,954 ล้านบาท ลดลง 30.33% จากเดิม 4,240 ล้านบาท สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 5,987 ล้านบาท ลดลง 2.16% จากเดิมมี 6,119 ล้านบาท สื่อนิตยสารมีมูลค่า 2,034 ล้านบาท ลดลง 13.26% จากเดิม 2,345 ล้านบาท และสื่ออินสโตร์มูลค่า 447 ล้านบาท ลดลง 43.13% จากเดิมที่มี 786 ล้านบาท
ส่วน 3 บริษัทที่ใช้งบโฆษณาสูงสุดครึ่งปีแรกปี 2558 เทียบ 2557 คือ 1. ยูนิลีเวอร์ไทย ใช้งบ 4,668 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดิมใช้ 4,521 ล้านบาท 2.ไบเออร์สดร๊อฟ ประเทศไทย ใช้งบ 1,825 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,126 ล้านบบาท และ 3.โตโยต้ามอเตอร์ส ประเทศไทย ใช้งบ 1,675 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,440 ล้านบาท หากมองแค่ 3 บริษัทใช้งบสูงสุดเดือนมิถุนายน 2558 คือ 1.ยูนิลีเวอร์ประเทศไทย ใช้งบ 766 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 603 ล้านบาท 2.ไบเออร์สดร๊อฟประเทศไทย ใช้ 486 ล้านบาท เดิมใช้ 243 ล้านบาท และ 3.โตโยต้ามอเตอร์สประเทศไทย ใช้ 307 ล้านบาท เดิมใช้ 273 ล้านบาท
นอกจากนั้น 3 แบรนด์สินค้าที่ใช้งบสูงสุดครึ่งปีแรก2558 คือ 1.รถเก๋งโตโยต้า ใช้ 774 ล้านบาท เดิมใช้ 590 ล้านบาท 2.เครื่องดื่มโค้ก ใช้งบ 567 ล้านบาท เดิมใช้ 565 ล้านบาท 3.รถกระบะโตโยต้า ใช้งบ 535 ล้านบาท เดิมใช้ 423 ล้านบาท
สำหรับ 3 แบรนด์ที่ใช้งบสูงสุดเดือนมิถุนายน 2558 คือ 1.รถเก๋งโตโยต้า ใช้ 141 ล้านบาท เดิมใช้ 95 ล้านบาท 2.รถกระบะโตโยต้า ใช้งบ 131 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมใช้ 66 ล้านบาท และ 3.นีเวีย ใช้งบ 114 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมใช้ 64 ล้านบาท
รายงานข่าวจาก บริษัท เนลสัน ประเทศไทย จำกัด ระบุว่า ตลาดงบโฆษณาเดือนมิถุนายน เดือนเดียว ปี2558 มูลค่า 11,791 ล้านบาท เพิ่มจากเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 2557 ที่มีมูลค่า 9,711 ล้านบาท หรือเพิ่ม 21.42% โดยสื่อทีวีอะนาล็อก มีมูลค่า 4,809 ล้านบาท ลดลง 13% จากเดิมมูลค่า 5,531 ล้านบาท สื่อเคเบิล/ทีวีดาวเทียม มูลค่า 537 ล้านบาท โต 5.29% จากเดิมมี 510 ล้านบาท สื่อทีวีดิจิตอลมูลค่า 3,332 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 549.51% จากเดิมมูลค่า 513 ล้านบบาท สื่อวิทยุมีมูลค่า 499 ล้านบาท เพิ่ม 8.95% จากเดิมที่มี 458 ล้านบาท
สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 1,057 ล้านบาท ลดลง 2.67% จากเดิมมี 1,086 ล้านบาท สื่อนิตยสารมูลค่า 325 ล้านบาท ลดลง 17.93% จากเดิมที่มี 396 ล้านบาท สื่อโรงหนังมีมูล่า 406 ล้านบาท เพิ่ม 28% จากเดิมที่มี 317 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมีมูลค่า 360 ล้านบาท เพิ่ม 7.78% จากเดิมที่มี 334 ล้านบาท สื่อ เคลื่อนที่ มีมูลค่า 354 ล้านบาท เพิ่ม 7.93% จากเดิมที่มี 328 ล้านบาท สื่ออินสโตร์ มีมูลค่า 26 ล้านบาท ลดลง 84.24% จากเดิมที่มี 165 ล้านบาท และสื่ออินเทอร์เน็ตมีมูลค่า 85 ล้านบาท เพิ่ม 18.06% จากเดิมที่มี 72 ล้านบาท
ทั้งนี้ส่งผลให้ตลาดรวมช่วงครึ่งปีแรกปี 2558 มีมูลค่า 68,938 ล้านบาท เพิ่ม 25.21% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้วที่มีมูค่า 55,056 ล้านบาท โดยแยกเป็นสื่อที่เพิ่มขึ้นคือ ทีวีดิจิตอล มูลค่า 18,701 ล้านบาท เพิ่ม 1,572.72% จากเดิมที่มี 1,118 ล้านบาท สื่อวิทยุมีมูลค่า 2,628 ล้านบาท เพิ่ม 2.30% จากเดิมที่มี 2,569 ล้านบาท สื่อโรงหนัง มีมูลค่า 2,243 ล้านบาท เพิ่ม 20.33% จากเดิมที่มี 1,864 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 2,111 ล้านบาท เพิ่ม 5.08% จากเดิมมูลค่า 2,009 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มูลค่า 2,058 ล้านบาท เพิ่ม 3.19% จากเดิมที่มี 1,754 ล้านบาท และสื่ออินเทอร์เน็ตมีมูลค่า 536 ล้านบาท เพิ่ม 29.16% จากเดิมที่มี 415 ล้านบาท
ขณะที่สื่อที่ตกลงในช่วง 6 เดือนแรกนี้คือ สื่อทีวีอะนาล็อก มูลค่า 29,239 ล้านบาท ลดลง 8.16% จากเดิม 31,837 ล้านบาท สื่อเคเบิล/ทีวีดาวเทียมมูลค่า 2,954 ล้านบาท ลดลง 30.33% จากเดิม 4,240 ล้านบาท สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 5,987 ล้านบาท ลดลง 2.16% จากเดิมมี 6,119 ล้านบาท สื่อนิตยสารมีมูลค่า 2,034 ล้านบาท ลดลง 13.26% จากเดิม 2,345 ล้านบาท และสื่ออินสโตร์มูลค่า 447 ล้านบาท ลดลง 43.13% จากเดิมที่มี 786 ล้านบาท
ส่วน 3 บริษัทที่ใช้งบโฆษณาสูงสุดครึ่งปีแรกปี 2558 เทียบ 2557 คือ 1. ยูนิลีเวอร์ไทย ใช้งบ 4,668 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดิมใช้ 4,521 ล้านบาท 2.ไบเออร์สดร๊อฟ ประเทศไทย ใช้งบ 1,825 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,126 ล้านบบาท และ 3.โตโยต้ามอเตอร์ส ประเทศไทย ใช้งบ 1,675 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,440 ล้านบาท หากมองแค่ 3 บริษัทใช้งบสูงสุดเดือนมิถุนายน 2558 คือ 1.ยูนิลีเวอร์ประเทศไทย ใช้งบ 766 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 603 ล้านบาท 2.ไบเออร์สดร๊อฟประเทศไทย ใช้ 486 ล้านบาท เดิมใช้ 243 ล้านบาท และ 3.โตโยต้ามอเตอร์สประเทศไทย ใช้ 307 ล้านบาท เดิมใช้ 273 ล้านบาท
นอกจากนั้น 3 แบรนด์สินค้าที่ใช้งบสูงสุดครึ่งปีแรก2558 คือ 1.รถเก๋งโตโยต้า ใช้ 774 ล้านบาท เดิมใช้ 590 ล้านบาท 2.เครื่องดื่มโค้ก ใช้งบ 567 ล้านบาท เดิมใช้ 565 ล้านบาท 3.รถกระบะโตโยต้า ใช้งบ 535 ล้านบาท เดิมใช้ 423 ล้านบาท
สำหรับ 3 แบรนด์ที่ใช้งบสูงสุดเดือนมิถุนายน 2558 คือ 1.รถเก๋งโตโยต้า ใช้ 141 ล้านบาท เดิมใช้ 95 ล้านบาท 2.รถกระบะโตโยต้า ใช้งบ 131 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมใช้ 66 ล้านบาท และ 3.นีเวีย ใช้งบ 114 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมใช้ 64 ล้านบาท