ASTV ผู้จัดการรายวัน - "กรุ๊ปลีส" เตรียมทุ่มงบ 3,000 ล้านบาทจ่อซื้อกิจการไมโครไฟแนนซ์รายใหญ่ในกัมพูชา ด้วยแผนออกหุ้นกู้ 2 พันล้านบาท ที่เหลือ แบงก์กสิกรไทยปล่อยให้อีก 1พันล้าน ฟุ้งสร้างกำไรให้ธุรกิจโตแบบก้าวกระโดด เพราะหนี้สูญมีน้อย แถมได้ฐานลูกค้าพ่วงมาอีกไม่ต่ำกว่า 1.5 แสนราย ตั้งเป้าพอร์ตสินเชื่อเช่าซื้อทะลุ 1 หมื่นล้านใน 3 ปี
นายมิทซึจิ โคโนชิตะ ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.กรุ๊ปลีส หรือ GL กล่าวว่าบริษัทตั้งเป้าในการขยายกิจการไฟแนนซ์อย่างเต็มรูปแบบในประเทศกัมพูชาเพิ่มเติมจากที่ทำอยู่ เนื่องจากในกัมพูชายังมีข้อจำกัดทางด้านกฎหมายอยู่หลายอย่าง ทำให้เจ้าของกิจการเช่าซื้อรถยนต์ไม่สามารถทำกิจการไฟแนนซ์ได้สะดวกมากนัก จึงถือเป็นโอกาสดีที่ GLF ได้เข้าไปทำธุรกิจด้านสินเชื่อในประเทศกัมพูชา โดยในเร็วๆนี้บริษัทมีแผนที่จะเข้าซื้อกิจการของบริษัทไมโครไฟแนนซ์รายใหญ่ ในประเทศกัมพูชา มูลค่าขนาดของธุรกิจประมาณ 2,100 ล้านบาท โดยคาดว่าจะใช้เงินลงทุนประมาณ 3,000 ล้านบาท แบ่งเป็นออกหุ้นกู้จำนวน 2,000 ล้านบาท และอาจขอกู้จากสถาบันการเงินซึ่งได้เจรจากับทางธนาคารกสิกรไทยไว้ก่อนหน้า นี้แล้วประมาณ 1,000 ล้านบาท ทั้งนี้บริษัทฯได้เตรียมที่จะแจ้งต่อผู้ถือหุ้นในสัปดาห์หน้า โดยจะมอบให้บริษัท GLH ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ GL ที่จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร์เป็นผู้ดำเนินการหาทุน
"เรามองว่าธุรกิจไมโคร ไฟแนนซ์ในกัมพูชานั้น เป็นธุรกิจที่เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายได้โดยตรง เพราะมีมาจิ้นที่สูงมาก และทำกำไรได้เยอะ และตลาดยังมีความต้องการสูงสามารถขยายตัวต่อเนื่อง อีกทั้งหนี้สูญมีจำนวนน้อยมาก ซึ่งถ้าหากบริษัทฯควบรวมกิจการไมโครไฟแนนซ์ ของกัมพูชาได้แล้ว จะทำให้มีกำไรแบบก้าวกระโดด เพราะมีฐานลูกค้าที่พ่วงมาด้วยไม่ต่ำกว่า 150,000 ราย ซึ่งสัดส่วนรายได้ที่จะเกิดขึ้นตามมานั้นคาดว่าจะใกล้เคียงกับประเทศไทย"
อย่างไรก็ดีธุรกิจไมโครไฟแนนซ์ในประเทศกัมพูชานั้นจะเน้นด้านการส่ง เสริมให้ประชาชนในประเทศมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่นสนับสนุนสินค้าเพื่อการเกษตรได้แก่เมล็ดพันธุ์ข้าว หรือเครื่องจักรกลการเกษตร ซึ่งกฎหมายของรัฐบาลควบคุมไม่ให้กู้เพื่อใช้ซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยเช่นเครื่อง ใช้ไฟฟ้าต่างๆที่ไม่จำเป็น ขณะเดียวกันนี้บริษัทฯได้เข้ามาลงทุนในส่วนของการให้สินเชื่อเพื่อการเช่า ซื้อสินค้าเครื่องจักรกลทางการเกษตร โดยลงนามข้อตกลง(MOU)กับ บริษัท สยามคูโบต้า จำกัด ในการนำรถไถนา และรถเกี่ยวข้าว เพื่อมาจำหน่ายในประเทศกัมพูชา ซึ่งถือว่าเป็นสินค้าที่กลุ่มเกษตรกรมีความต้องการสูงมาก เช่นเดียวกับรถจักรยานยนต์ โดยในประเทศกัมพูชานั้นสยามคูโบต้าสามารถเข้ามาทำตลาดได้ 100% และเป็นสินค้าที่มีภาษีนำเข้าต่ำกว่ารถจักรยานยนต์มากนัก
ขณะเดียวกันบริษัทฯตั้งเป้าการเติบโตในอนาคตของพอร์ตสินเชื่อเช่า ซื้อซึ่งขณะนี้อยู่ที่ประมาณ 5,000 พันล้านบาท ซึ่งเมื่อเปิด AEC 2558 จะสามารถเติบโตขึ้นถึง 1 หมื่นล้านบาท จากการขยายตัวของภาคธุรกิจ โดยในปีหน้าบริษัทเตรียมที่จะนำโมเดลธุรกิจที่ใช้ในกัมพูชา ไปเปิดเพิ่มที่ประเทศลาว
ส่วนในระยะยาว 3 ปีบริษัทฯตั้งเป้าการเติบโตโดยเฉลี่ยในปี 2556 ไว้ที่ในประเทศไทย 85% และต่างประเทศ 15% ในปี 2557 ในประเทศ 10% ต่างประเทศ 40 % และในปี 2558 คาดว่าการเติบโตของธุรกิจในต่างประเทศจะมากกว่า 50%สินค้าเพื่อการเกษตรได้แก่เมล็ดพันธุ์ข้าว หรือเครื่องจักรกลการเกษตร ซึ่งกฎหมายของรัฐบาลควบคุมไม่ให้กู้เพื่อใช้ซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยเช่นเครื่อง ใช้ไฟฟ้าต่างๆที่ไม่จำเป็น ขณะเดียวกันนี้บริษัทฯได้เข้ามาลงทุนในส่วนของการให้สินเชื่อเพื่อการเช่า ซื้อสินค้าเครื่องจักรกลทางการเกษตร โดยลงนามข้อตกลง(MOU)กับ บริษัท สยามคูโบต้า จำกัด ในการนำรถไถนา และรถเกี่ยวข้าว เพื่อมาจำหน่ายในประเทศกัมพูชา ซึ่งถือว่าเป็นสินค้าที่กลุ่มเกษตรกรมีความต้องการสูงมาก เช่นเดียวกับรถจักรยานยนต์ โดยในประเทศกัมพูชานั้นสยามคูโบต้าสามารถเข้ามาทำตลาดได้ 100% และเป็นสินค้าที่มีภาษีนำเข้าต่ำกว่ารถจักรยานยนต์มากนัก
นอกจากนี้ บริษัทฯตั้งเป้าการเติบโตในอนาคตของพอร์ตสินเชื่อเช่า ซื้อซึ่งขณะนี้อยู่ที่ประมาณ 5,000 พันล้านบาท ซึ่งเมื่อเปิด AEC 2558 จะสามารถเติบโตขึ้นถึง 1 หมื่นล้านบาท จากการขยายตัวของภาคธุรกิจ โดยในปีหน้าบริษัทเตรียมที่จะนำโมเดลธุรกิจที่ใช้ในกัมพูชา ไปเปิดเพิ่มที่ประเทศลาว
ทั้งนี้ในระยะยาว 3 ปีบริษัทฯตั้งเป้าการเติบโตโดยเฉลี่ยในปี 2556 ไว้ที่ในประเทศไทย 85% และต่างประเทศ 15% ในปี 2557 ในประเทศ 10% ต่างประเทศ 40 % และในปี 2558 คาดว่าการเติบโตของธุรกิจในต่างประเทศจะมากกว่า 50%
นายมิทซึจิ โคโนชิตะ ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.กรุ๊ปลีส หรือ GL กล่าวว่าบริษัทตั้งเป้าในการขยายกิจการไฟแนนซ์อย่างเต็มรูปแบบในประเทศกัมพูชาเพิ่มเติมจากที่ทำอยู่ เนื่องจากในกัมพูชายังมีข้อจำกัดทางด้านกฎหมายอยู่หลายอย่าง ทำให้เจ้าของกิจการเช่าซื้อรถยนต์ไม่สามารถทำกิจการไฟแนนซ์ได้สะดวกมากนัก จึงถือเป็นโอกาสดีที่ GLF ได้เข้าไปทำธุรกิจด้านสินเชื่อในประเทศกัมพูชา โดยในเร็วๆนี้บริษัทมีแผนที่จะเข้าซื้อกิจการของบริษัทไมโครไฟแนนซ์รายใหญ่ ในประเทศกัมพูชา มูลค่าขนาดของธุรกิจประมาณ 2,100 ล้านบาท โดยคาดว่าจะใช้เงินลงทุนประมาณ 3,000 ล้านบาท แบ่งเป็นออกหุ้นกู้จำนวน 2,000 ล้านบาท และอาจขอกู้จากสถาบันการเงินซึ่งได้เจรจากับทางธนาคารกสิกรไทยไว้ก่อนหน้า นี้แล้วประมาณ 1,000 ล้านบาท ทั้งนี้บริษัทฯได้เตรียมที่จะแจ้งต่อผู้ถือหุ้นในสัปดาห์หน้า โดยจะมอบให้บริษัท GLH ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ GL ที่จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร์เป็นผู้ดำเนินการหาทุน
"เรามองว่าธุรกิจไมโคร ไฟแนนซ์ในกัมพูชานั้น เป็นธุรกิจที่เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายได้โดยตรง เพราะมีมาจิ้นที่สูงมาก และทำกำไรได้เยอะ และตลาดยังมีความต้องการสูงสามารถขยายตัวต่อเนื่อง อีกทั้งหนี้สูญมีจำนวนน้อยมาก ซึ่งถ้าหากบริษัทฯควบรวมกิจการไมโครไฟแนนซ์ ของกัมพูชาได้แล้ว จะทำให้มีกำไรแบบก้าวกระโดด เพราะมีฐานลูกค้าที่พ่วงมาด้วยไม่ต่ำกว่า 150,000 ราย ซึ่งสัดส่วนรายได้ที่จะเกิดขึ้นตามมานั้นคาดว่าจะใกล้เคียงกับประเทศไทย"
อย่างไรก็ดีธุรกิจไมโครไฟแนนซ์ในประเทศกัมพูชานั้นจะเน้นด้านการส่ง เสริมให้ประชาชนในประเทศมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่นสนับสนุนสินค้าเพื่อการเกษตรได้แก่เมล็ดพันธุ์ข้าว หรือเครื่องจักรกลการเกษตร ซึ่งกฎหมายของรัฐบาลควบคุมไม่ให้กู้เพื่อใช้ซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยเช่นเครื่อง ใช้ไฟฟ้าต่างๆที่ไม่จำเป็น ขณะเดียวกันนี้บริษัทฯได้เข้ามาลงทุนในส่วนของการให้สินเชื่อเพื่อการเช่า ซื้อสินค้าเครื่องจักรกลทางการเกษตร โดยลงนามข้อตกลง(MOU)กับ บริษัท สยามคูโบต้า จำกัด ในการนำรถไถนา และรถเกี่ยวข้าว เพื่อมาจำหน่ายในประเทศกัมพูชา ซึ่งถือว่าเป็นสินค้าที่กลุ่มเกษตรกรมีความต้องการสูงมาก เช่นเดียวกับรถจักรยานยนต์ โดยในประเทศกัมพูชานั้นสยามคูโบต้าสามารถเข้ามาทำตลาดได้ 100% และเป็นสินค้าที่มีภาษีนำเข้าต่ำกว่ารถจักรยานยนต์มากนัก
ขณะเดียวกันบริษัทฯตั้งเป้าการเติบโตในอนาคตของพอร์ตสินเชื่อเช่า ซื้อซึ่งขณะนี้อยู่ที่ประมาณ 5,000 พันล้านบาท ซึ่งเมื่อเปิด AEC 2558 จะสามารถเติบโตขึ้นถึง 1 หมื่นล้านบาท จากการขยายตัวของภาคธุรกิจ โดยในปีหน้าบริษัทเตรียมที่จะนำโมเดลธุรกิจที่ใช้ในกัมพูชา ไปเปิดเพิ่มที่ประเทศลาว
ส่วนในระยะยาว 3 ปีบริษัทฯตั้งเป้าการเติบโตโดยเฉลี่ยในปี 2556 ไว้ที่ในประเทศไทย 85% และต่างประเทศ 15% ในปี 2557 ในประเทศ 10% ต่างประเทศ 40 % และในปี 2558 คาดว่าการเติบโตของธุรกิจในต่างประเทศจะมากกว่า 50%สินค้าเพื่อการเกษตรได้แก่เมล็ดพันธุ์ข้าว หรือเครื่องจักรกลการเกษตร ซึ่งกฎหมายของรัฐบาลควบคุมไม่ให้กู้เพื่อใช้ซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยเช่นเครื่อง ใช้ไฟฟ้าต่างๆที่ไม่จำเป็น ขณะเดียวกันนี้บริษัทฯได้เข้ามาลงทุนในส่วนของการให้สินเชื่อเพื่อการเช่า ซื้อสินค้าเครื่องจักรกลทางการเกษตร โดยลงนามข้อตกลง(MOU)กับ บริษัท สยามคูโบต้า จำกัด ในการนำรถไถนา และรถเกี่ยวข้าว เพื่อมาจำหน่ายในประเทศกัมพูชา ซึ่งถือว่าเป็นสินค้าที่กลุ่มเกษตรกรมีความต้องการสูงมาก เช่นเดียวกับรถจักรยานยนต์ โดยในประเทศกัมพูชานั้นสยามคูโบต้าสามารถเข้ามาทำตลาดได้ 100% และเป็นสินค้าที่มีภาษีนำเข้าต่ำกว่ารถจักรยานยนต์มากนัก
นอกจากนี้ บริษัทฯตั้งเป้าการเติบโตในอนาคตของพอร์ตสินเชื่อเช่า ซื้อซึ่งขณะนี้อยู่ที่ประมาณ 5,000 พันล้านบาท ซึ่งเมื่อเปิด AEC 2558 จะสามารถเติบโตขึ้นถึง 1 หมื่นล้านบาท จากการขยายตัวของภาคธุรกิจ โดยในปีหน้าบริษัทเตรียมที่จะนำโมเดลธุรกิจที่ใช้ในกัมพูชา ไปเปิดเพิ่มที่ประเทศลาว
ทั้งนี้ในระยะยาว 3 ปีบริษัทฯตั้งเป้าการเติบโตโดยเฉลี่ยในปี 2556 ไว้ที่ในประเทศไทย 85% และต่างประเทศ 15% ในปี 2557 ในประเทศ 10% ต่างประเทศ 40 % และในปี 2558 คาดว่าการเติบโตของธุรกิจในต่างประเทศจะมากกว่า 50%