กฟผ.ประเมินตัวเลขการใช้ไฟฟ้าสูงสุด(พีค)ปีนี้จะเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 4.1% หรืออยู่ที่ประมาณ 22,940 เมกะวัตต์ช่วงหน้าร้อนเหตุเศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว เร่งบริหารเชื้อเพลิงรับมือเผยการใช้ก๊าซฯจะลดลงหลังซื้อไฟจากลาวเพิ่ม
แหล่งข่าวจากจากสำนักนโยบายและแผนพลังงาน(สนพ.) เปิดเผยว่า การไฟฟ้าฝ่ายลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)ได้จัดทำตัวเลขประมาณการภาพรวมการใช้ไฟฟ้าในปี 2553 มีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจที่ประเมินว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวที่ระดับ 3.5% โดยคาดว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงสุด(พีค)ปีนี้ที่จะอยู่ในช่วงเม.ย.จะเพิ่มขึ้นจากปีก่อนประมาณ 4.1% หรือเฉลี่ยอยู่ที่ 22,940 เมกะวัตต์ ขณะที่จำนวนพลังานไฟฟ้าที่ใช้ในปีนี้ทั่วประเทศจะอยู่ที่ 1.49 แสนล้านหน่วยเพิ่มขึ้น 3.2% จากปีก่อนที่มีจำนวนพลังงานไฟฟ้าอยู่ที่ 1.45 แสนล้านหน่วย
“เศรษฐกิจที่ขยายตัวจะมีผลให้การใช้ไฟฟ้าภาพรวมเพิ่มขึ้นจากปีก่อนโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมที่จะเป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนการใช้ที่เพิ่มขึ้นตามคำสั่งซื้อที่ทยอยกลับเข้ามาจำนวนมาก ดังนั้นพีคปีนี้คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้น 4.1% เทียบกับปีก่อน ที่พีคอยู่ที่ 22,044 เมกะวัตต์เมื่อวันที่ 24 เม.ย. 52”แหล่งข่าวกล่าว
สำหรับการบริหารจัดการเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าช่วงหน้าร้อนกฟผ.ได้เตรียมการไว้แล้วโดยสัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติจะลดลงเล็กน้อยอยู่ที่ 69% จากก่อนหน้าจะอยู่ในระดับ 70-71%เนื่องจาก จะมีการผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำเพิ่มขึ้น ในโครงารน้ำเทิน2 จากประเทลาวจะเริ่มส่งไฟฟ้าข้าระบบให้กับไทยในดือนมี.ค. มีกำลังการลิต920 เมกะวัตต์ ขณะที่การใช้ถ่านหินมีสัดส่วนอยูที่ 19% พลังน้ำ 9% และน้ำมันเตา 0.6%
อย่างไก็ตามในช่วงเดือนมี.ค.ทางพม่าได้แจ้งกำหดการซ่อมบำรุงท่อก๊ซฯเป็นเวลา10 วัน ซึ่งจะส่งผลให้ปริมาณการจัดส่งก๊าซฯหายไปจากระบบจากแหล่งเยตากุนและยาดานา ซึ่งกฟผ.ได้เตรียมแผนรองรับไว้แล้วและหากเป็นไปได้อาจจะเจรจาให้ทางพม่าเลื่อนการ่อมบำรุงไปช่วงเดือเม.ย. เนื่องจากมีวันหยุดมาก ปริมาณการใช้ฟฟ้าจะต่ำกว่าช่วงปติ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดไฟฟ้าดับหรือไฟฟ้าขาดแคลนในบางช่วงได้
ส่วนสถานการณ์น้ำในขื่อน ทั่วประเทศ ในี 2553 มีปริมาณน้ำในอ่งเก็บน้ำของ กฟผ. รวมทั้งสิ้น 46,115 ล้นลูกบาศก์เมตร (ล้าน บ.ม.) คิดเป็น 73.96 % ของความจุอ่างทังหมด (ณ วันี่ 10 ม.ค. 53) ซึ่งน้อยกว่าช่วงเวลาเดียวกันของปี 2552 ประมาณ 7.29% หือ 3,627 ล้าน ลบ.. และน้อยกว่าค่าเฉลี่ย 10 ปีที่ผ่านมา 9.64% หรือ 4,928 ล้าน ลบ.ม. ภาพรวมปริมาน้ำในปี 2553 น้อยกว่าปที่ผ่านมาเพียงเล็ก้อย และยังมีระดับน้อยู่ในเกณฑ์ปกติ แต่สิ่งที่เป็นห่วงจะมีผลต่อน้ำที่ใช้ในภาคการเกษตรมากว่า
แหล่งข่าวจากจากสำนักนโยบายและแผนพลังงาน(สนพ.) เปิดเผยว่า การไฟฟ้าฝ่ายลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)ได้จัดทำตัวเลขประมาณการภาพรวมการใช้ไฟฟ้าในปี 2553 มีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจที่ประเมินว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวที่ระดับ 3.5% โดยคาดว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงสุด(พีค)ปีนี้ที่จะอยู่ในช่วงเม.ย.จะเพิ่มขึ้นจากปีก่อนประมาณ 4.1% หรือเฉลี่ยอยู่ที่ 22,940 เมกะวัตต์ ขณะที่จำนวนพลังานไฟฟ้าที่ใช้ในปีนี้ทั่วประเทศจะอยู่ที่ 1.49 แสนล้านหน่วยเพิ่มขึ้น 3.2% จากปีก่อนที่มีจำนวนพลังงานไฟฟ้าอยู่ที่ 1.45 แสนล้านหน่วย
“เศรษฐกิจที่ขยายตัวจะมีผลให้การใช้ไฟฟ้าภาพรวมเพิ่มขึ้นจากปีก่อนโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมที่จะเป็นกลุ่มที่มีสัดส่วนการใช้ที่เพิ่มขึ้นตามคำสั่งซื้อที่ทยอยกลับเข้ามาจำนวนมาก ดังนั้นพีคปีนี้คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้น 4.1% เทียบกับปีก่อน ที่พีคอยู่ที่ 22,044 เมกะวัตต์เมื่อวันที่ 24 เม.ย. 52”แหล่งข่าวกล่าว
สำหรับการบริหารจัดการเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าช่วงหน้าร้อนกฟผ.ได้เตรียมการไว้แล้วโดยสัดส่วนการใช้ก๊าซธรรมชาติจะลดลงเล็กน้อยอยู่ที่ 69% จากก่อนหน้าจะอยู่ในระดับ 70-71%เนื่องจาก จะมีการผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำเพิ่มขึ้น ในโครงารน้ำเทิน2 จากประเทลาวจะเริ่มส่งไฟฟ้าข้าระบบให้กับไทยในดือนมี.ค. มีกำลังการลิต920 เมกะวัตต์ ขณะที่การใช้ถ่านหินมีสัดส่วนอยูที่ 19% พลังน้ำ 9% และน้ำมันเตา 0.6%
อย่างไก็ตามในช่วงเดือนมี.ค.ทางพม่าได้แจ้งกำหดการซ่อมบำรุงท่อก๊ซฯเป็นเวลา10 วัน ซึ่งจะส่งผลให้ปริมาณการจัดส่งก๊าซฯหายไปจากระบบจากแหล่งเยตากุนและยาดานา ซึ่งกฟผ.ได้เตรียมแผนรองรับไว้แล้วและหากเป็นไปได้อาจจะเจรจาให้ทางพม่าเลื่อนการ่อมบำรุงไปช่วงเดือเม.ย. เนื่องจากมีวันหยุดมาก ปริมาณการใช้ฟฟ้าจะต่ำกว่าช่วงปติ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดไฟฟ้าดับหรือไฟฟ้าขาดแคลนในบางช่วงได้
ส่วนสถานการณ์น้ำในขื่อน ทั่วประเทศ ในี 2553 มีปริมาณน้ำในอ่งเก็บน้ำของ กฟผ. รวมทั้งสิ้น 46,115 ล้นลูกบาศก์เมตร (ล้าน บ.ม.) คิดเป็น 73.96 % ของความจุอ่างทังหมด (ณ วันี่ 10 ม.ค. 53) ซึ่งน้อยกว่าช่วงเวลาเดียวกันของปี 2552 ประมาณ 7.29% หือ 3,627 ล้าน ลบ.. และน้อยกว่าค่าเฉลี่ย 10 ปีที่ผ่านมา 9.64% หรือ 4,928 ล้าน ลบ.ม. ภาพรวมปริมาน้ำในปี 2553 น้อยกว่าปที่ผ่านมาเพียงเล็ก้อย และยังมีระดับน้อยู่ในเกณฑ์ปกติ แต่สิ่งที่เป็นห่วงจะมีผลต่อน้ำที่ใช้ในภาคการเกษตรมากว่า