ปัจจุบันเมื่อเอ่ยถึง ปราชญ์แห่งเมืองเพชร จะเป็นใครอื่นมิได้ นอกจาก อาจารย์ล้อม เพ็งแก้ว อดีตอาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ผู้ได้รับการเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เมื่อปี 2550 ให้เป็นหนึ่งใน ‘ปูชนียบุคคลด้านภาษาไทย’ และในปีเดียวกันนี้เอง มหาวิทยาลัยศิลปากรก็ได้มอบปริญญาศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชามนุษยวิทยา ให้กับอาจารย์ ล้อม ในฐานะผู้เชี่ยวชาญทางภาษา วรรณคดี ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญาไทยหลายแขนงอย่างลึกซึ้ง และได้ใช้ความรู้ทั้งหมดที่มีอยู่เพื่อประโยชน์ต่อสังคม ท้องถิ่น และประเทศชาติ แต่ก่อนหน้านั้นในปี 2548 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ก็ได้ตั้งอาจารย์ล้อมเป็น ‘เกตุทัตศาสตราภิชาน’ ของมหาวิทยาลัยด้วย
แต่กว่าจะได้รับการยกย่องให้เป็นปราชญ์แห่งเมืองเพชร เช่นทุกวันนี้ อาจารย์ล้อมต้องใช้ความเพียรพยายามอย่างหนักในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เรียกว่าหากมีเรื่องใดที่สงสัยใคร่รู้ อาจารย์จะต้องหาคำตอบที่ถูกต้องมาตอบตัวเองให้ได้
ห้องสนทนาครั้งนี้จึงพาไปสนทนากับปราชญ์ท่านนี้ ปราชญ์ผู้ถ่อมตน สมถะ เอื้ออารี และมีเมตตา
• ทำไมคนยกย่องให้อาจารย์เป็นปราชญ์ชาวบ้าน
ก็ไม่รู้นะ ก็ต้องไปถามเขา เขาก็ว่ากันไป อาจจะเป็นเพราะว่าส่วนใหญ่เวลาคนไม่รู้อะไรก็มักจะมาถามผม พอถามแล้วเขาได้รับคำตอบที่น่าพอใจ เขาก็เลยตั้งให้เป็น ปราชญ์ ผมไม่ได้อยากเป็นนะ เขาตั้งให้เอง (หัวเราะ)
• แล้วตำแหน่ง‘ศาสตราภิชาน’เป็นอย่างไรคะ
อ๋อ...คือศาสตราภิชานนี่มันเป็นตำแหน่งที่ทางมหาวิทยาลัยเขาแต่งตั้งให้แก่บุคคลภายนอก ซึ่งต้องเป็นผู้ที่ ยืนหยัดในวิชาชีพ ทำงานในวิชาชีพนั้นด้วยความมุ่งมั่นจริง จัง อย่างเช่น หม่อมราชวงศ์จตุมงคล โสณกุล ซึ่งเป็นนักการเงิน แม้รัฐบาลทักษิณจะปลดออกจากตำแหน่งผู้ว่า การธนาคารแห่งประเทศไทย แต่ทางจุฬาลงกรณ์มหา- วิทยาลัยแต่งตั้งให้ท่านเป็นศาตราภิชานด้านการเงิน ซึ่ง ตำแหน่งนี้ไม่ใช่ตำแหน่งเกียรติยศเหมือนกับปริญญากิตติมศักดิ์ที่ทางมหาวิทยาลัยมอบให้บุคคลภายนอก ตำแหน่งศาสตราภิชานนี่เขามีเงินเดือนให้ด้วย อัตราเงินเดือนก็ค่อนข้างสูง แต่เป็นเงินที่ได้จากการบริจาคให้กับมูลนิธิที่ตั้งขึ้นมาเพื่อประโยชน์ทางวิชาการ ไม่ใช่เงินจาก งบประมาณ ซึ่งเงินเดือนดังกล่าวเขาจะให้เป็นเวลา 2 ปี ตอนที่เขาตั้งให้เป็นศาสตราภิชานผมก็ไม่รู้หรอก อยู่ๆก็ได้รับโทรศัพท์จากประธานสภามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต เขาก็ชี้แจงอย่างนั้นอย่างนี้ เขาหว่านล้อมจนผมไม่รู้จะปฏิเสธอย่างไร เขาให้ก็เป็น (หัวเราะ)
• อาจารย์เริ่มสนใจภาษาไทยจนกลายมาเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องภาษาไทย ตั้งแต่เมื่อไรคะ
ผมเริ่มมาสนใจตอนเข้ามาเรียนที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร (ปัจจุบันคือมหา วิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร) ที่กรุงเทพฯ ตอนนั้นอายุประมาณ 17 ปีได้ คือเนื่องจากผมเป็นเด็กใต้ เกิดและโตที่จังหวัดพัทลุง เลยพูดภาษากลางไม่ได้ ฟังภาษากลางไม่ออก พอขึ้นมาเรียนที่กรุงเทพฯ ผมแทบจะไม่พูดกับใครเลยนานถึง 2 ปี จะพูดเท่าที่ จำเป็นเท่านั้น ผมก็คอยสังเกตว่าไอ้นี่เขาเรียกอะไร ไอ้นั่นเขาเรียกอะไร คือคิดเป็นภาษาใต้ก่อนนะแล้วค่อยแปลเป็นภาษากลางอีกที (หัวเราะขำ) ช่วงนั้นก็พยายามตะลุยอ่านหนังสือในห้องสมุด ดูว่าตัวละครในนวนิยายเวลาเขาสนทนากันเขาพูดว่าอย่างไร เพื่อจะได้สื่อสารเป็นภาษากลางได้ จนกระทั่งผมอยู่ปีสุดท้ายผมถึงจะ พูดภาษากลางค่อนข้างคล่อง เริ่มคิดเป็นภาษากลาง ทีนี้การที่เราไม่รู้ภาษากลาง แล้วต้องคอยสังเกต ว่าเขาพูดกัน ยังไง ทำไมเขาใช้อย่างนี้ พูดอย่างนี้ และสนใจการอ่าน มันเลยติดเป็นนิสัย ประกอบกับความรู้สึกที่ว่า เอ... ทำไมคนอื่นเขาพูดจาคล่อง ก็เลยตั้งใจว่า สักวันหนึ่งเราต้องเขียนตำราภาษาไทยให้คนอื่นอ่านให้ได้ (หัวเราะ) คือมันเจ็บใจไง
• แล้วมาเป็นครูสอนภาษาไทยได้อย่างไร
คือแต่เดิมตอนที่เรียนอยู่ที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ผมเป็นนักเรียนทุนของกระทรวงศึกษาธิการ พอผมได้บรรจุเป็นครูที่โรงเรียนในจังหวัดเพชรบุรี อาจารย์ใหญ่ที่นั่นท่านเคยเป็นครูเก่าของผม ท่านเจอหน้าผมก็บอกว่าเธอมาก็ดีแล้ว ช่วยสอนวิชาภาษาไทยแทนครูที ผมก็เลยสอนวิชาภาษาไทยมาตั้งแต่บัดนั้น แล้วก็ไม่เคยเปลี่ยนไปสอนวิชาอื่นเลย ซึ่งเวลาที่สอนภาษาไทยผมก็ไปดูคู่มือการสอนต่างๆปรากฏว่าข้อมูลมันไม่ตรงกับความรู้ที่เราเคยรู้มา
เช่นวรรณคดีเรื่องหนึ่งเขียนไว้ว่า “ตีป่าสักเสร็จให้เร่งล้อมขอมหลวง” เขาก็อธิบายว่าตีเมืองจำปาสักเสร็จ.... ผมก็ ว่า เอ...เมืองป่าสัก มันไม่ใช่เมืองจำปาสักนี่ จำปาสักมันอยู่ที่อุบลฯโน่น จะยกกองทัพเรือจากอ่าวไทยไปถึงเมืองป่าสัก คนทำคู่มือคงจะไม่รู้จริง ผมเลยไปศึกษาข้อมูลและจัดทำคู่มือขึ้นมาใหม่ ซึ่งก็ทำให้ผมต้องอ่านหนังสือเยอะมาก เราก็ไปเจอข้อมูลที่มันไม่ถูกต้องอีก ผมก็เลยต้องเข้าไปหาผู้รู้ ไปคุยกับชาวบ้านในชุมชนต่างๆ ก็เลยได้เป็นคติขึ้นมาว่า “อยากได้ปริญญาให้ไปมหาวิทยาลัย อยากได้ความรู้ให้เข้าสู่ชาวบ้าน” ผมก็ไปศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ไปตามวัดวาอาราม ได้รู้จักผู้คนเยอะแยะ ประกอบกับผมสนใจงานเขียนอยู่แล้ว จึงนำสิ่งที่เรารู้มานำเสนอในรูปแบบของการเขียนหนังสือ ก็เริ่มเขียนมาทีละเล็กละน้อย เขียนไปเรื่อย จนกระทั่งมันกลายเป็นนิสัย มีอะไรก็จะต้องสืบรู้จนถึงต้นตอ ถ้าไม่รู้ถึงต้นตอมันไม่สบายใจ ไม่มั่นใจ ไม่กล้านำเสนอ
• เรียกว่าศึกษาทั้งทางด้าน ภาษา วรรณคดี และประวัติศาสตร์ควบคู่กันไป
ครับ มันต้องศึกษาควบคู่กัน เพราะสิ่งเหล่านี้มันแยกจากกันไม่ได้ ภาษาไทยหรือวรรณคดีมันก็มีรากมาจากประวัติศาสตร์ แล้วก็เกี่ยวพันกับชีวิตผู้คน อย่างตอนที่ผมไปที่หมู่บ้านสิงขร ซึ่งอยู่ตรงวัดท่าชัย จังหวัดเพชรบุรี ก็เอ..ทำไมเขาถึงเรียกว่าหมู่บ้านสิงขร ผมก็สืบค้นไปจนรู้ว่าชาวบ้านในหมู่บ้านนี้เขาอพยพมาจากเมืองสิงขร ซึ่งเหตุที่อพยพเนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศอังกฤษเข้ามาล่าอาณานิคมในแถบนี้ พออังกฤษยึดประเทศพม่าได้ ตอนกำหนดเขตแดนแทนที่อังกฤษจะชี้ตรงเส้นแบ่งแดนเดิม กลับชี้เข้ามาทางภูเขาตะนาวศรีซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดเพชรบุรีในปัจจุบัน ดังนั้นคนไทยส่วนหนึ่งเลยไปติดอยู่ในพม่า คือเดิมเขตแดนเมืองเพชรด้านตะวันตกนั้นอยู่ติดริมแม่น้ำตะนาวศรี ผมก็เข้าไปคุยกับชาวบ้าน คุยไปคุยมาเลยรู้ว่า เจ้าเมืองคนสุดท้ายที่ไปดูแลด้านเมืองเพชรตรงริมแม่น้ำตะนาวศรี ก็คือบรรพบุรุษของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ผมก็ไปสอบถามท่านว่าจริงหรือเปล่า ท่านก็บอกว่าจริง มีบันทึกของบรรพชนของท่านอยู่ บรรพชนของท่านเป็นเจ้าเมืองกรุย แล้วในช่วงนั้นทางการสั่งให้เจ้าเมืองกรุยไปดูแลเมืองเพชร เราก็ได้ความรู้เยอะ แล้วได้ความรู้เพิ่มเติมอีกว่าเมืองเพชรนั้นความจริงเขตแดนติดกับชุมพรที่บริเวณทับสะแก ทาง การเพิ่งจะมาแบ่งเป็นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เมื่อปี 2456 ก็เลยได้หลักว่าเวลาจะดูหลักฐานเอกสารต่างๆ มันต้องสืบค้นไปลึกๆ
หรืออย่างตอนที่เขียนเรื่องเรือนไทยผมก็สืบค้นเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม แล้วก็ลงทุนสร้างเรือนไทยขึ้นมาเองเลย เพื่อจะได้รู้ว่าตรงนี้เขาเรียกอะไร วิธีการสร้างทำอย่างไร ทำไมตรงนี้เรียกว่าจั่วหน้าพรหม เพราะที่หนังสือเขาอธิบายไว้มันไม่ตรงกับที่ผมไปสืบจากช่าง ผมก็ไปนั่งคุยกับช่าง ไปดูเวลาที่เขาสั่งงาน ดูว่าเขาเรียกตรงนั้นตรงนี้ว่าอะไร ก็คอยจดบันทึกไว้ ทำให้เราได้ความรู้อย่างถ่องแท้
ก็ไม่รู้นะ ก็ต้องไปถามเขา เขาก็ว่ากันไป อาจจะเป็นเพราะว่าส่วนใหญ่เวลาคนไม่รู้อะไรก็มักจะมาถามผม พอถามแล้วเขาได้รับคำตอบที่น่าพอใจ เขาก็เลยตั้งให้เป็น ปราชญ์ ผมไม่ได้อยากเป็นนะ เขาตั้งให้เอง (หัวเราะ)
• แล้วตำแหน่ง‘ศาสตราภิชาน’เป็นอย่างไรคะ
อ๋อ...คือศาสตราภิชานนี่มันเป็นตำแหน่งที่ทางมหาวิทยาลัยเขาแต่งตั้งให้แก่บุคคลภายนอก ซึ่งต้องเป็นผู้ที่ ยืนหยัดในวิชาชีพ ทำงานในวิชาชีพนั้นด้วยความมุ่งมั่นจริง จัง อย่างเช่น หม่อมราชวงศ์จตุมงคล โสณกุล ซึ่งเป็นนักการเงิน แม้รัฐบาลทักษิณจะปลดออกจากตำแหน่งผู้ว่า การธนาคารแห่งประเทศไทย แต่ทางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแต่งตั้งให้ท่านเป็นศาตราภิชานด้านการเงิน ซึ่ง ตำแหน่งนี้ไม่ใช่ตำแหน่งเกียรติยศเหมือนกับปริญญากิตติมศักดิ์ที่ทางมหาวิทยาลัยมอบให้บุคคลภายนอก ตำแหน่งศาสตราภิชานนี่เขามีเงินเดือนให้ด้วย อัตราเงินเดือนก็ค่อนข้างสูง แต่เป็นเงินที่ได้จากการบริจาคให้กับมูลนิธิที่ตั้งขึ้นมาเพื่อประโยชน์ทางวิชาการ ไม่ใช่เงินจาก งบประมาณ ซึ่งเงินเดือนดังกล่าวเขาจะให้เป็นเวลา 2 ปี ตอนที่เขาตั้งให้เป็นศาสตราภิชานผมก็ไม่รู้หรอก อยู่ๆก็ได้รับโทรศัพท์จากประธานสภามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต เขาก็ชี้แจงอย่างนั้นอย่างนี้ เขาหว่านล้อมจนผมไม่รู้จะปฏิเสธอย่างไร เขาให้ก็เป็น (หัวเราะ)
• อาจารย์เริ่มสนใจภาษาไทยจนกลายมาเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องภาษาไทย ตั้งแต่เมื่อไรคะ
ผมเริ่มมาสนใจตอนเข้ามาเรียนที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร (ปัจจุบันคือมหา วิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร) ที่กรุงเทพฯ ตอนนั้นอายุประมาณ 17 ปีได้ คือเนื่องจากผมเป็นเด็กใต้ เกิดและโตที่จังหวัดพัทลุง เลยพูดภาษากลางไม่ได้ ฟังภาษากลางไม่ออก พอขึ้นมาเรียนที่กรุงเทพฯ ผมแทบจะไม่พูดกับใครเลยนานถึง 2 ปี จะพูดเท่าที่ จำเป็นเท่านั้น ผมก็คอยสังเกตว่าไอ้นี่เขาเรียกอะไร ไอ้นั่นเขาเรียกอะไร คือคิดเป็นภาษาใต้ก่อนนะแล้วค่อยแปลเป็นภาษากลางอีกที (หัวเราะขำ) ช่วงนั้นก็พยายามตะลุยอ่านหนังสือในห้องสมุด ดูว่าตัวละครในนวนิยายเวลาเขาสนทนากันเขาพูดว่าอย่างไร เพื่อจะได้สื่อสารเป็นภาษากลางได้ จนกระทั่งผมอยู่ปีสุดท้ายผมถึงจะ พูดภาษากลางค่อนข้างคล่อง เริ่มคิดเป็นภาษากลาง ทีนี้การที่เราไม่รู้ภาษากลาง แล้วต้องคอยสังเกต ว่าเขาพูดกัน ยังไง ทำไมเขาใช้อย่างนี้ พูดอย่างนี้ และสนใจการอ่าน มันเลยติดเป็นนิสัย ประกอบกับความรู้สึกที่ว่า เอ... ทำไมคนอื่นเขาพูดจาคล่อง ก็เลยตั้งใจว่า สักวันหนึ่งเราต้องเขียนตำราภาษาไทยให้คนอื่นอ่านให้ได้ (หัวเราะ) คือมันเจ็บใจไง
• แล้วมาเป็นครูสอนภาษาไทยได้อย่างไร
คือแต่เดิมตอนที่เรียนอยู่ที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ผมเป็นนักเรียนทุนของกระทรวงศึกษาธิการ พอผมได้บรรจุเป็นครูที่โรงเรียนในจังหวัดเพชรบุรี อาจารย์ใหญ่ที่นั่นท่านเคยเป็นครูเก่าของผม ท่านเจอหน้าผมก็บอกว่าเธอมาก็ดีแล้ว ช่วยสอนวิชาภาษาไทยแทนครูที ผมก็เลยสอนวิชาภาษาไทยมาตั้งแต่บัดนั้น แล้วก็ไม่เคยเปลี่ยนไปสอนวิชาอื่นเลย ซึ่งเวลาที่สอนภาษาไทยผมก็ไปดูคู่มือการสอนต่างๆปรากฏว่าข้อมูลมันไม่ตรงกับความรู้ที่เราเคยรู้มา
เช่นวรรณคดีเรื่องหนึ่งเขียนไว้ว่า “ตีป่าสักเสร็จให้เร่งล้อมขอมหลวง” เขาก็อธิบายว่าตีเมืองจำปาสักเสร็จ.... ผมก็ ว่า เอ...เมืองป่าสัก มันไม่ใช่เมืองจำปาสักนี่ จำปาสักมันอยู่ที่อุบลฯโน่น จะยกกองทัพเรือจากอ่าวไทยไปถึงเมืองป่าสัก คนทำคู่มือคงจะไม่รู้จริง ผมเลยไปศึกษาข้อมูลและจัดทำคู่มือขึ้นมาใหม่ ซึ่งก็ทำให้ผมต้องอ่านหนังสือเยอะมาก เราก็ไปเจอข้อมูลที่มันไม่ถูกต้องอีก ผมก็เลยต้องเข้าไปหาผู้รู้ ไปคุยกับชาวบ้านในชุมชนต่างๆ ก็เลยได้เป็นคติขึ้นมาว่า “อยากได้ปริญญาให้ไปมหาวิทยาลัย อยากได้ความรู้ให้เข้าสู่ชาวบ้าน” ผมก็ไปศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ไปตามวัดวาอาราม ได้รู้จักผู้คนเยอะแยะ ประกอบกับผมสนใจงานเขียนอยู่แล้ว จึงนำสิ่งที่เรารู้มานำเสนอในรูปแบบของการเขียนหนังสือ ก็เริ่มเขียนมาทีละเล็กละน้อย เขียนไปเรื่อย จนกระทั่งมันกลายเป็นนิสัย มีอะไรก็จะต้องสืบรู้จนถึงต้นตอ ถ้าไม่รู้ถึงต้นตอมันไม่สบายใจ ไม่มั่นใจ ไม่กล้านำเสนอ
• เรียกว่าศึกษาทั้งทางด้าน ภาษา วรรณคดี และประวัติศาสตร์ควบคู่กันไป
ครับ มันต้องศึกษาควบคู่กัน เพราะสิ่งเหล่านี้มันแยกจากกันไม่ได้ ภาษาไทยหรือวรรณคดีมันก็มีรากมาจากประวัติศาสตร์ แล้วก็เกี่ยวพันกับชีวิตผู้คน อย่างตอนที่ผมไปที่หมู่บ้านสิงขร ซึ่งอยู่ตรงวัดท่าชัย จังหวัดเพชรบุรี ก็เอ..ทำไมเขาถึงเรียกว่าหมู่บ้านสิงขร ผมก็สืบค้นไปจนรู้ว่าชาวบ้านในหมู่บ้านนี้เขาอพยพมาจากเมืองสิงขร ซึ่งเหตุที่อพยพเนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศอังกฤษเข้ามาล่าอาณานิคมในแถบนี้ พออังกฤษยึดประเทศพม่าได้ ตอนกำหนดเขตแดนแทนที่อังกฤษจะชี้ตรงเส้นแบ่งแดนเดิม กลับชี้เข้ามาทางภูเขาตะนาวศรีซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดเพชรบุรีในปัจจุบัน ดังนั้นคนไทยส่วนหนึ่งเลยไปติดอยู่ในพม่า คือเดิมเขตแดนเมืองเพชรด้านตะวันตกนั้นอยู่ติดริมแม่น้ำตะนาวศรี ผมก็เข้าไปคุยกับชาวบ้าน คุยไปคุยมาเลยรู้ว่า เจ้าเมืองคนสุดท้ายที่ไปดูแลด้านเมืองเพชรตรงริมแม่น้ำตะนาวศรี ก็คือบรรพบุรุษของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ผมก็ไปสอบถามท่านว่าจริงหรือเปล่า ท่านก็บอกว่าจริง มีบันทึกของบรรพชนของท่านอยู่ บรรพชนของท่านเป็นเจ้าเมืองกรุย แล้วในช่วงนั้นทางการสั่งให้เจ้าเมืองกรุยไปดูแลเมืองเพชร เราก็ได้ความรู้เยอะ แล้วได้ความรู้เพิ่มเติมอีกว่าเมืองเพชรนั้นความจริงเขตแดนติดกับชุมพรที่บริเวณทับสะแก ทาง การเพิ่งจะมาแบ่งเป็นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เมื่อปี 2456 ก็เลยได้หลักว่าเวลาจะดูหลักฐานเอกสารต่างๆ มันต้องสืบค้นไปลึกๆ
หรืออย่างตอนที่เขียนเรื่องเรือนไทยผมก็สืบค้นเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม แล้วก็ลงทุนสร้างเรือนไทยขึ้นมาเองเลย เพื่อจะได้รู้ว่าตรงนี้เขาเรียกอะไร วิธีการสร้างทำอย่างไร ทำไมตรงนี้เรียกว่าจั่วหน้าพรหม เพราะที่หนังสือเขาอธิบายไว้มันไม่ตรงกับที่ผมไปสืบจากช่าง ผมก็ไปนั่งคุยกับช่าง ไปดูเวลาที่เขาสั่งงาน ดูว่าเขาเรียกตรงนั้นตรงนี้ว่าอะไร ก็คอยจดบันทึกไว้ ทำให้เราได้ความรู้อย่างถ่องแท้
• วรรณกรรมการเมืองก็เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่อาจารย์ มีความเชี่ยวชาญเหมือนกัน ใช่ไหมคะ
วิชานี้ก็เป็นวิชาหนึ่งที่ผมสอนตอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ผมสอนวิชานี้อยู่คนเดียว เพราะอาจารย์ท่านอื่นเขาไม่อยากสอนกัน ซึ่งจริงๆแล้ววรรณกรรมการ เมืองก็มีอยู่เยอะแยะนะ ทุกเรื่องเป็นการเมืองได้หมด คือเราใช้สังคมและการเมืองไปตีความวรรณกรรม อย่างเรื่อง ลิลิตพระลอเนี่ยถ้าเราเอาการเมืองเข้าไปจับก็สามารถอธิบายได้ว่า ในเรื่องของอำนาจนั้นเมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะ มีทางแยก 2 ทาง คือเรื่องกามารมณ์และเรื่องความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง แต่ถ้าเลือกทางกามารมณ์อย่างที่พระลอเลือก ปลายทางก็คือความตาย หนังสือในปัจจุบันก็มีวรรณกรรมการเมืองเยอะ บทกลอนต่างๆที่สะท้อนภาพการเมืองในสมัย 14 ตุลาฯ เขาเขียนลงในหนังสือพิมพ์ ผมก็เอามาสอนนักศึกษา
คือวรรณกรรมการเมืองมันเป็นเรื่องของการสะท้อนภาพของสังคมในช่วงนั้น อย่างมีกลอนบทหนึ่งชื่อว่า ‘ตาสีตาสา’ เขียนลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ช่วงหลังจาก 6 ตุลาฯ 2519 เขาเขียนเป็นภาพคนกำลังสักการะพระบรมรูปรัชกาล ที่ 5 แล้วมีบทกลอนว่า
‘โอ้ว่า..พระทูลกระหม่อมแก้วลูกสละสิ้นแล้วซึ่งสังขาร์
มันยิงลูกดับดิ้นสิ้นชีวา มิทันได้ทูลลาพระทรงชัย
นับแต่มันบริหารการแผ่นดินความสุขเท่าผีกลิ้นหามีไม่
ข้าวยากหมากแพงทุกแห่งไป โจรภัยจี้ปล้นล้นพารา’
มันก็สะท้อนถึงสภาพสังคมในช่วงนั้นว่ารัฐใช้อำนาจรังแกประชาชน
• ทำไมถึงมาเขียนหนังสือ‘คู่มือพุทธประวัติ’
คือช่วงนั้นผมเป็นอนุกรรมการวิชาการของคุรุสภา เขาก็ มอบหมายให้ช่วยเขียนคู่มือวรรณคดีสำหรับผู้ที่สอบชุด วิชาพ.ม.(หลักสูตรวิชาชุดครูพิเศษ) ทีนี้มันมีเรื่องพุทธ- ประวัติด้วย แต่หาคนเขียนไม่ได้ เขาเลยให้ผมช่วยเขียน ก่อนเขียนผมก็ต้องไปค้นคว้า เขียนเสร็จก็ให้ทางคุรุสภา ไปเลยกลายเป็นคู่มือพุทธประวัติ ที่จริงผมก็ไม่ได้ร่ำเรียนมาทางพุทธศาสนานะ ผมก็ไปถามอาจารย์ผู้รู้ต่างๆ เช่น สมถวิปัสนาเป็นอย่างไร เนวสัญญาคืออะไร คำศัพท์นี้แปลว่าอะไร แล้วไม่ใช่ถามจากนักวิชาการอย่างเดียวนะ ผมไปสอบถามจากนักปฏิบัติด้วย เพราะเราต้องการให้ได้ข้อมูล ที่ถูกต้องที่สุด ต้องสืบค้นกันจนถึงต้นตอเลย
• มีสนใจค้นคว้าเรื่องไหนเป็นพิเศษ หรือพอใจเป็นพิเศษไหมคะ
ความจริงก็สนใจทุกเรื่องที่มันผ่านเข้ามาในชีวิตน่ะแหละ อะไรที่มันเป็นปัญหาเราก็ต้องคิดแก้จนได้ บางคนรู้สึกว่าผม ทำงานเยอะ รู้เรื่องนั้นเรื่องนี้เยอะ ความจริงก็ไม่เยอะหรอก เพราะตอนนี้ผมอายุปาเข้าไป 70 กว่าแล้ว จะให้ทำงานน้อยๆ เหมือนคนอายุ 20 ได้ยังไง บังเอิญว่าผมสนใจอะไรแล้วก็อยากจะรู้ให้ลึก รู้ให้จริง
ผมก็พอใจทุกเรื่องนะ เพราะผมสืบค้นจนรู้ลึก จนพอใจ ผมถึงจะนำเสนอ ถ้ายังไม่พอใจผมก็ยังไม่นำเสนอ ถ้าถาม ว่าเรื่องไหนพอใจที่สุด ผมคงตอบไม่ได้ ผมพอใจแล้วผมก็ หยุดอยู่แค่นั้น พอใครมาถามเรื่องอะไร ผมก็ศึกษาต่อไปอีก
• ในที่สุดอาจารย์ก็ได้เขียนตำราภาษาไทยตามที่ได้ตั้งใจไว้ แล้วก็เขียนบทความให้ความรู้อีกมากมาย
ครับ ก็มีอยู่หลายเล่ม อย่างภูมิพื้นภาษาไทยก็มีอยู่ชุด หนึ่ง มี 3 เล่ม แล้วมีอธิบายสำนวนไทยอยู่ชุดหนึ่ง ซึ่งพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มติชน มี 3 เล่มเช่นกัน ได้แก่ ‘เสนาะ เสน่ห์ สำนวนไทย’ เล่มที่สองคือ ‘สนั่น สนาน สำนวนไทย’ และเล่มที่สามชื่อ ‘ภาษาสยาม’ แล้วก็มีชุด ‘ค้นคำ เค้นความ’ คือเมื่อก่อนผมเขียนคอลัมน์ประจำอยู่ที่นิตยสารฟ้าเมือง ไทย ก็เอามารวบรวมพิมพ์เป็นเล่ม จากนั้นใครให้เขียนอะไรก็เขียนมาเรื่อย เขียนจนจำไม่ได้ว่าเขียนเรื่องอะไรบ้างเพราะเยอะไปหมด เขียนแล้วก็แล้วกัน
• รวมทั้งเขียนพจนานุกรมด้วยใช่ไหมคะ
อ๋อ...อันนั้นผมไปทำให้กับสำนักพิมพ์มติชน คือคุณ สุจิตต์ (สุจิตต์ วงษ์เทศ) แกบอกผมไว้นานแล้วว่าอยากให้ช่วยทำพจนานุกรมให้สักฉบับหนึ่ง ผมก็ผัดผ่อนแกมาเรื่อย ช่วงก่อนที่ผมจะเกษียณไม่กี่เดือนแกก็บอกว่ามาทำให้ที เถอะ ก็เลยไปช่วยกันทำ ก็เป็นการทำงานที่สนุกพอสมควร ได้พจนานุกรมมาเล่มหนึ่ง แต่ก็ยังไม่เป็นที่พอใจนัก เนื่อง จากว่าพจนานุกรมฉบับนั้นใช้เวลาเขียนแค่ 2 ปีเท่านั้น ซึ่งถือว่าน้อยมาก ก็คิดอยู่ว่าสักวันหนึ่งอาจจะต้องปรับปรุง เพราะยังมีสิ่งบกพร่องที่ต้องเพิ่มเติมอะไรอีกเยอะ
• อาจารย์มองวิวัฒนาการของภาษาไทยอย่างไรคะ เพราะมีคนตั้งข้อสังเกตว่าตอนนี้มีศัพท์แสลงเกิดขึ้นเยอะ อาจารย์เป็นห่วงไหม
ไม่นะ.. ผมมองว่าภาษาเป็นสิ่งมีชีวิตอย่างหนึ่ง มีเกิด มีเปลี่ยนแปลง แล้วก็มีดับไปเป็นธรรมดา เหมือนกับคนเราที่เกิด เติบโต แก่ชรา แล้วก็ตายไปในที่สุด ผมเลยไม่ รู้สึกอะไร ผมมองว่าเป็นเรื่องธรรมดา เด็กรุ่นใหม่จะพูดอะไรก็พูดไป ถ้าภาษาที่เขาพูดมันแข็งแรง มันก็คงส่งเป็นมรดกต่อไป แต่ถ้าไม่ไหวมันก็ตายไปเอง
สมัยผมเป็นวัยรุ่นมันก็มีศัพท์แสลงนะ แต่ไม่เยอะเหมือนสมัยนี้ ซึ่งอาจจะเป็นเพราะปัจจุบันสื่อต่างๆมันกว้างขวางและหลากหลายขึ้น เด็กเข้าหาสื่อได้ง่ายขึ้น ทั้งโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และอินเตอร์เน็ต มันก็เกิดคำแสลงเยอะขึ้น
• การมีคำแสลงเยอะๆจะทำให้เกิดภาษาวิบัติรึเปล่า
ผมไม่ได้มองอย่างนั้นนะ คือถ้าคิดว่าคำแสลงจะทำให้เกิดภาษาวิบัติมันก็วิบัติมาตั้งแต่สมัยไหนๆแล้ว จะเห็นได้ว่าบันทึกตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาก็มีการพูดถึงเรื่องนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 ก็มีการบ่นว่าช่วงนั้นเกิดปัญหาเรื่องภาษาวิบัติ อย่างในสมัยรัชกาลที่ 6 พระองค์ท่านก็ทรงบันทึกไว้ว่า “อ่านอ่านรำคาญฮือ หนังสือสมัยใหม่ อย่างเราไม่เข้าใจ........” แต่ปัจจุบันเราก็ยังยกย่องว่าภาษาในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้นเป็นภาษาที่สละสลวยงดงาม เพราะฉะนั้นอีก 50-60 ปีข้างหน้า คนมาอ่านภาษาสมัยนี้เขาอาจจะบอกว่าดีก็ได้ ผมว่าหัวใจของภาษาคือการสื่อสารนะ เมื่อใดที่สามารถสื่อสารกันรู้เรื่องก็ถือว่าบรรลุผลแล้ว ส่วนจะสื่อกันโดยวิธีไหนอย่างไรนั้นก็เป็นเรื่องเฉพาะบุคคล อย่าไปวิตกกังวลเลย เพราะ ‘ลมก็ย่อมเลือกทางพัดได้เอง’
• มีอยู่ช่วงหนึ่งที่วัยรุ่นนิยมเขียนคำว่า ‘นู๋’ แทนคำว่า ‘หนู’ มันผิดอะไรมากไหม
มันก็เป็นเรื่องของการทดลอง อย่าลืมว่าเรื่องของภาษา เรื่องของวัฒนธรรมมันต้องการการทดลอง แล้วก็นำเสนอออกไป ถ้าคนเห็นด้วยมันก็สืบสานต่อไป แต่ถ้าคนไม่เห็นด้วยมันก็เลิกราไป จริงอยู่ว่ามันผิดหลัก แต่อย่าลืมว่าหลักเกณฑ์ต่างๆมันเกิดมาจากคนใช้นะ คนใช้จึงทำให้เกิดหลัก ไม่ใช่ใช้ตามหลักนะ อย่างเวลาคุณพูดหรือคุณใช้ภาษาก็ไม่ เคยนึกว่าหลักมันกำหนดว่าอย่างไร หลักเกณฑ์ทั้งหลายมัน เป็นเรื่องของนักวิชาการเขาไปตามเก็บรวบรวมจากที่คนใช้กันแล้วมาวางเป็นหลักเกณฑ์ พูดง่ายๆว่าคนใช้เดินหน้า แล้วตำราตามมาทีหลัง ธรรมชาติมันเป็นเช่นนั้น
เพราะฉะนั้นเราอย่าไปวิตก ปล่อยให้มันเป็นไปตามธรรมชาติ มันจะคลี่คลายอย่างช้าๆ เราจะบีบบังคับให้มันเปลี่ยนแปลงไปตามใจเรานั้นไม่ได้หรอก ถ้าทำอย่างนั้น เรียกว่าเป็น ‘ฆาตกรทางภาษา’ ยกตัวอย่างภาษาสันสกฤต มีคนสร้างไวยากรณ์เอาไว้ว่าจะต้องอ่านอย่างนั้น ใช้ในความหมายอย่างนี้ ผลสุดท้ายภาษาสันสกฤตก็ตายไป เพราะมันใช้ยากคนเลยไม่ใช้ ภาษาบาลีก็เหมือนกัน นักปราชญ์ ทางภาษาบาลีก็บอกว่าต้องทำอย่างนั้น ต้องเป็นแบบนี้ คน เลยไม่ใช้ ภาษาบาลีก็ตายอีก คือถ้าเราไปบีบบังคับภาษามันก็จะตายไป ดังนั้นเราต้องปล่อยให้มันคลี่คลายไปตามธรรมชาติ มันถึงจะมีชีวิตอยู่ได้ ต้องถามว่าแล้วเราอยากทำ ให้ภาษาตายไหมล่ะ ถ้าเราทำให้ภาษาตาย เราก็เป็นฆาตกร เพราะฉะนั้นผมจึงไม่อยากเป็นฆาตกรของภาษาไทย (ยิ้มอย่างอารมณ์ดี)
• เนื่องจากวันที่ 20 กันยายนนี้ เป็นวันเยาวชน แห่งชาติ หากเยาวชนคนรุ่นใหม่อยากจะมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาไทย อาจารย์มีคำแนะนำอะไรบ้างคะ
ก็อ่านหนังสือเยอะๆ ความรู้ของคนเรามันก็เหมือน น้ำในโอ่ง ก่อนจะตักน้ำในโอ่งมาใช้ได้ เราก็ต้องตักน้ำใส่ โอ่งเสียก่อน ถ้าในโอ่งไม่มีน้ำ ก็ไม่รู้จะเอาน้ำที่ไหนมาใช้ ก็เหมือนกับการที่เราจะพูดจะเขียนให้ได้ดี เราก็ต้องอ่านเยอะเพื่อให้มีความรู้เสียก่อน สมัยเรียนผมอ่านหนังสือ แทบหมดทั้งห้องสมุด อ่านทุกเล่ม เวลาบรรณารักษ์บันทึกการยืมหนังสือ จะเห็นเลยว่ามีหนังสือหลายเล่มมากที่ชื่อผมเป็นชื่อแรกที่ยืมหนังสือ ดังนั้นหากเยาวชนอยากมีความรู้เรื่องภาษาไทยก็ต้องเริ่มจากการอ่านเยอะๆ (ยิ้มใจดี)
.........
ในวัย 72 ปีของอาจารย์ล้อมในวันนี้ มิใช่วัยวันที่วางมือ หรือหยุดนิ่งต่อการทำงาน แต่ยังคงเขียนหนังสือผ่านทางสื่อ สิ่งพิมพ์มากมาย เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป รวมทั้งการไปบรรยายให้ความรู้แก่คนรุ่นลูกรุ่นหลานอย่างไม่รู้่เหน็ดเหนื่อย ด้วยเหตุผลที่ว่าเวลาการทำงานเหลือน้อยลงทุกวัน ดังเช่นที่อาจารย์ได้บอกไว้ว่า “ตอนนี้ผมอายุปาเข้าไป 70 กว่าแล้ว จะให้ทำงานน้อยๆเหมือนคนอายุ 20 ได้ยังไง”
วิชานี้ก็เป็นวิชาหนึ่งที่ผมสอนตอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ผมสอนวิชานี้อยู่คนเดียว เพราะอาจารย์ท่านอื่นเขาไม่อยากสอนกัน ซึ่งจริงๆแล้ววรรณกรรมการ เมืองก็มีอยู่เยอะแยะนะ ทุกเรื่องเป็นการเมืองได้หมด คือเราใช้สังคมและการเมืองไปตีความวรรณกรรม อย่างเรื่อง ลิลิตพระลอเนี่ยถ้าเราเอาการเมืองเข้าไปจับก็สามารถอธิบายได้ว่า ในเรื่องของอำนาจนั้นเมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะ มีทางแยก 2 ทาง คือเรื่องกามารมณ์และเรื่องความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง แต่ถ้าเลือกทางกามารมณ์อย่างที่พระลอเลือก ปลายทางก็คือความตาย หนังสือในปัจจุบันก็มีวรรณกรรมการเมืองเยอะ บทกลอนต่างๆที่สะท้อนภาพการเมืองในสมัย 14 ตุลาฯ เขาเขียนลงในหนังสือพิมพ์ ผมก็เอามาสอนนักศึกษา
คือวรรณกรรมการเมืองมันเป็นเรื่องของการสะท้อนภาพของสังคมในช่วงนั้น อย่างมีกลอนบทหนึ่งชื่อว่า ‘ตาสีตาสา’ เขียนลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ช่วงหลังจาก 6 ตุลาฯ 2519 เขาเขียนเป็นภาพคนกำลังสักการะพระบรมรูปรัชกาล ที่ 5 แล้วมีบทกลอนว่า
‘โอ้ว่า..พระทูลกระหม่อมแก้วลูกสละสิ้นแล้วซึ่งสังขาร์
มันยิงลูกดับดิ้นสิ้นชีวา มิทันได้ทูลลาพระทรงชัย
นับแต่มันบริหารการแผ่นดินความสุขเท่าผีกลิ้นหามีไม่
ข้าวยากหมากแพงทุกแห่งไป โจรภัยจี้ปล้นล้นพารา’
มันก็สะท้อนถึงสภาพสังคมในช่วงนั้นว่ารัฐใช้อำนาจรังแกประชาชน
• ทำไมถึงมาเขียนหนังสือ‘คู่มือพุทธประวัติ’
คือช่วงนั้นผมเป็นอนุกรรมการวิชาการของคุรุสภา เขาก็ มอบหมายให้ช่วยเขียนคู่มือวรรณคดีสำหรับผู้ที่สอบชุด วิชาพ.ม.(หลักสูตรวิชาชุดครูพิเศษ) ทีนี้มันมีเรื่องพุทธ- ประวัติด้วย แต่หาคนเขียนไม่ได้ เขาเลยให้ผมช่วยเขียน ก่อนเขียนผมก็ต้องไปค้นคว้า เขียนเสร็จก็ให้ทางคุรุสภา ไปเลยกลายเป็นคู่มือพุทธประวัติ ที่จริงผมก็ไม่ได้ร่ำเรียนมาทางพุทธศาสนานะ ผมก็ไปถามอาจารย์ผู้รู้ต่างๆ เช่น สมถวิปัสนาเป็นอย่างไร เนวสัญญาคืออะไร คำศัพท์นี้แปลว่าอะไร แล้วไม่ใช่ถามจากนักวิชาการอย่างเดียวนะ ผมไปสอบถามจากนักปฏิบัติด้วย เพราะเราต้องการให้ได้ข้อมูล ที่ถูกต้องที่สุด ต้องสืบค้นกันจนถึงต้นตอเลย
• มีสนใจค้นคว้าเรื่องไหนเป็นพิเศษ หรือพอใจเป็นพิเศษไหมคะ
ความจริงก็สนใจทุกเรื่องที่มันผ่านเข้ามาในชีวิตน่ะแหละ อะไรที่มันเป็นปัญหาเราก็ต้องคิดแก้จนได้ บางคนรู้สึกว่าผม ทำงานเยอะ รู้เรื่องนั้นเรื่องนี้เยอะ ความจริงก็ไม่เยอะหรอก เพราะตอนนี้ผมอายุปาเข้าไป 70 กว่าแล้ว จะให้ทำงานน้อยๆ เหมือนคนอายุ 20 ได้ยังไง บังเอิญว่าผมสนใจอะไรแล้วก็อยากจะรู้ให้ลึก รู้ให้จริง
ผมก็พอใจทุกเรื่องนะ เพราะผมสืบค้นจนรู้ลึก จนพอใจ ผมถึงจะนำเสนอ ถ้ายังไม่พอใจผมก็ยังไม่นำเสนอ ถ้าถาม ว่าเรื่องไหนพอใจที่สุด ผมคงตอบไม่ได้ ผมพอใจแล้วผมก็ หยุดอยู่แค่นั้น พอใครมาถามเรื่องอะไร ผมก็ศึกษาต่อไปอีก
• ในที่สุดอาจารย์ก็ได้เขียนตำราภาษาไทยตามที่ได้ตั้งใจไว้ แล้วก็เขียนบทความให้ความรู้อีกมากมาย
ครับ ก็มีอยู่หลายเล่ม อย่างภูมิพื้นภาษาไทยก็มีอยู่ชุด หนึ่ง มี 3 เล่ม แล้วมีอธิบายสำนวนไทยอยู่ชุดหนึ่ง ซึ่งพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มติชน มี 3 เล่มเช่นกัน ได้แก่ ‘เสนาะ เสน่ห์ สำนวนไทย’ เล่มที่สองคือ ‘สนั่น สนาน สำนวนไทย’ และเล่มที่สามชื่อ ‘ภาษาสยาม’ แล้วก็มีชุด ‘ค้นคำ เค้นความ’ คือเมื่อก่อนผมเขียนคอลัมน์ประจำอยู่ที่นิตยสารฟ้าเมือง ไทย ก็เอามารวบรวมพิมพ์เป็นเล่ม จากนั้นใครให้เขียนอะไรก็เขียนมาเรื่อย เขียนจนจำไม่ได้ว่าเขียนเรื่องอะไรบ้างเพราะเยอะไปหมด เขียนแล้วก็แล้วกัน
• รวมทั้งเขียนพจนานุกรมด้วยใช่ไหมคะ
อ๋อ...อันนั้นผมไปทำให้กับสำนักพิมพ์มติชน คือคุณ สุจิตต์ (สุจิตต์ วงษ์เทศ) แกบอกผมไว้นานแล้วว่าอยากให้ช่วยทำพจนานุกรมให้สักฉบับหนึ่ง ผมก็ผัดผ่อนแกมาเรื่อย ช่วงก่อนที่ผมจะเกษียณไม่กี่เดือนแกก็บอกว่ามาทำให้ที เถอะ ก็เลยไปช่วยกันทำ ก็เป็นการทำงานที่สนุกพอสมควร ได้พจนานุกรมมาเล่มหนึ่ง แต่ก็ยังไม่เป็นที่พอใจนัก เนื่อง จากว่าพจนานุกรมฉบับนั้นใช้เวลาเขียนแค่ 2 ปีเท่านั้น ซึ่งถือว่าน้อยมาก ก็คิดอยู่ว่าสักวันหนึ่งอาจจะต้องปรับปรุง เพราะยังมีสิ่งบกพร่องที่ต้องเพิ่มเติมอะไรอีกเยอะ
• อาจารย์มองวิวัฒนาการของภาษาไทยอย่างไรคะ เพราะมีคนตั้งข้อสังเกตว่าตอนนี้มีศัพท์แสลงเกิดขึ้นเยอะ อาจารย์เป็นห่วงไหม
ไม่นะ.. ผมมองว่าภาษาเป็นสิ่งมีชีวิตอย่างหนึ่ง มีเกิด มีเปลี่ยนแปลง แล้วก็มีดับไปเป็นธรรมดา เหมือนกับคนเราที่เกิด เติบโต แก่ชรา แล้วก็ตายไปในที่สุด ผมเลยไม่ รู้สึกอะไร ผมมองว่าเป็นเรื่องธรรมดา เด็กรุ่นใหม่จะพูดอะไรก็พูดไป ถ้าภาษาที่เขาพูดมันแข็งแรง มันก็คงส่งเป็นมรดกต่อไป แต่ถ้าไม่ไหวมันก็ตายไปเอง
สมัยผมเป็นวัยรุ่นมันก็มีศัพท์แสลงนะ แต่ไม่เยอะเหมือนสมัยนี้ ซึ่งอาจจะเป็นเพราะปัจจุบันสื่อต่างๆมันกว้างขวางและหลากหลายขึ้น เด็กเข้าหาสื่อได้ง่ายขึ้น ทั้งโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และอินเตอร์เน็ต มันก็เกิดคำแสลงเยอะขึ้น
• การมีคำแสลงเยอะๆจะทำให้เกิดภาษาวิบัติรึเปล่า
ผมไม่ได้มองอย่างนั้นนะ คือถ้าคิดว่าคำแสลงจะทำให้เกิดภาษาวิบัติมันก็วิบัติมาตั้งแต่สมัยไหนๆแล้ว จะเห็นได้ว่าบันทึกตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาก็มีการพูดถึงเรื่องนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 ก็มีการบ่นว่าช่วงนั้นเกิดปัญหาเรื่องภาษาวิบัติ อย่างในสมัยรัชกาลที่ 6 พระองค์ท่านก็ทรงบันทึกไว้ว่า “อ่านอ่านรำคาญฮือ หนังสือสมัยใหม่ อย่างเราไม่เข้าใจ........” แต่ปัจจุบันเราก็ยังยกย่องว่าภาษาในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้นเป็นภาษาที่สละสลวยงดงาม เพราะฉะนั้นอีก 50-60 ปีข้างหน้า คนมาอ่านภาษาสมัยนี้เขาอาจจะบอกว่าดีก็ได้ ผมว่าหัวใจของภาษาคือการสื่อสารนะ เมื่อใดที่สามารถสื่อสารกันรู้เรื่องก็ถือว่าบรรลุผลแล้ว ส่วนจะสื่อกันโดยวิธีไหนอย่างไรนั้นก็เป็นเรื่องเฉพาะบุคคล อย่าไปวิตกกังวลเลย เพราะ ‘ลมก็ย่อมเลือกทางพัดได้เอง’
• มีอยู่ช่วงหนึ่งที่วัยรุ่นนิยมเขียนคำว่า ‘นู๋’ แทนคำว่า ‘หนู’ มันผิดอะไรมากไหม
มันก็เป็นเรื่องของการทดลอง อย่าลืมว่าเรื่องของภาษา เรื่องของวัฒนธรรมมันต้องการการทดลอง แล้วก็นำเสนอออกไป ถ้าคนเห็นด้วยมันก็สืบสานต่อไป แต่ถ้าคนไม่เห็นด้วยมันก็เลิกราไป จริงอยู่ว่ามันผิดหลัก แต่อย่าลืมว่าหลักเกณฑ์ต่างๆมันเกิดมาจากคนใช้นะ คนใช้จึงทำให้เกิดหลัก ไม่ใช่ใช้ตามหลักนะ อย่างเวลาคุณพูดหรือคุณใช้ภาษาก็ไม่ เคยนึกว่าหลักมันกำหนดว่าอย่างไร หลักเกณฑ์ทั้งหลายมัน เป็นเรื่องของนักวิชาการเขาไปตามเก็บรวบรวมจากที่คนใช้กันแล้วมาวางเป็นหลักเกณฑ์ พูดง่ายๆว่าคนใช้เดินหน้า แล้วตำราตามมาทีหลัง ธรรมชาติมันเป็นเช่นนั้น
เพราะฉะนั้นเราอย่าไปวิตก ปล่อยให้มันเป็นไปตามธรรมชาติ มันจะคลี่คลายอย่างช้าๆ เราจะบีบบังคับให้มันเปลี่ยนแปลงไปตามใจเรานั้นไม่ได้หรอก ถ้าทำอย่างนั้น เรียกว่าเป็น ‘ฆาตกรทางภาษา’ ยกตัวอย่างภาษาสันสกฤต มีคนสร้างไวยากรณ์เอาไว้ว่าจะต้องอ่านอย่างนั้น ใช้ในความหมายอย่างนี้ ผลสุดท้ายภาษาสันสกฤตก็ตายไป เพราะมันใช้ยากคนเลยไม่ใช้ ภาษาบาลีก็เหมือนกัน นักปราชญ์ ทางภาษาบาลีก็บอกว่าต้องทำอย่างนั้น ต้องเป็นแบบนี้ คน เลยไม่ใช้ ภาษาบาลีก็ตายอีก คือถ้าเราไปบีบบังคับภาษามันก็จะตายไป ดังนั้นเราต้องปล่อยให้มันคลี่คลายไปตามธรรมชาติ มันถึงจะมีชีวิตอยู่ได้ ต้องถามว่าแล้วเราอยากทำ ให้ภาษาตายไหมล่ะ ถ้าเราทำให้ภาษาตาย เราก็เป็นฆาตกร เพราะฉะนั้นผมจึงไม่อยากเป็นฆาตกรของภาษาไทย (ยิ้มอย่างอารมณ์ดี)
• เนื่องจากวันที่ 20 กันยายนนี้ เป็นวันเยาวชน แห่งชาติ หากเยาวชนคนรุ่นใหม่อยากจะมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาไทย อาจารย์มีคำแนะนำอะไรบ้างคะ
ก็อ่านหนังสือเยอะๆ ความรู้ของคนเรามันก็เหมือน น้ำในโอ่ง ก่อนจะตักน้ำในโอ่งมาใช้ได้ เราก็ต้องตักน้ำใส่ โอ่งเสียก่อน ถ้าในโอ่งไม่มีน้ำ ก็ไม่รู้จะเอาน้ำที่ไหนมาใช้ ก็เหมือนกับการที่เราจะพูดจะเขียนให้ได้ดี เราก็ต้องอ่านเยอะเพื่อให้มีความรู้เสียก่อน สมัยเรียนผมอ่านหนังสือ แทบหมดทั้งห้องสมุด อ่านทุกเล่ม เวลาบรรณารักษ์บันทึกการยืมหนังสือ จะเห็นเลยว่ามีหนังสือหลายเล่มมากที่ชื่อผมเป็นชื่อแรกที่ยืมหนังสือ ดังนั้นหากเยาวชนอยากมีความรู้เรื่องภาษาไทยก็ต้องเริ่มจากการอ่านเยอะๆ (ยิ้มใจดี)
.........
ในวัย 72 ปีของอาจารย์ล้อมในวันนี้ มิใช่วัยวันที่วางมือ หรือหยุดนิ่งต่อการทำงาน แต่ยังคงเขียนหนังสือผ่านทางสื่อ สิ่งพิมพ์มากมาย เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป รวมทั้งการไปบรรยายให้ความรู้แก่คนรุ่นลูกรุ่นหลานอย่างไม่รู้่เหน็ดเหนื่อย ด้วยเหตุผลที่ว่าเวลาการทำงานเหลือน้อยลงทุกวัน ดังเช่นที่อาจารย์ได้บอกไว้ว่า “ตอนนี้ผมอายุปาเข้าไป 70 กว่าแล้ว จะให้ทำงานน้อยๆเหมือนคนอายุ 20 ได้ยังไง”
(จากหนังสือธรรมลีลา ฉบับที่ 94 ก.ย. 51 โดยจินตปาฏิ)
แต่กว่าจะได้รับการยกย่องให้เป็นปราชญ์แห่งเมืองเพชร เช่นทุกวันนี้ อาจารย์ล้อมต้องใช้ความเพียรพยายามอย่างหนักในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เรียกว่าหากมีเรื่องใดที่สงสัยใคร่รู้ อาจารย์จะต้องหาคำตอบที่ถูกต้องมาตอบตัวเองให้ได้
ห้องสนทนาครั้งนี้จึงพาไปสนทนากับปราชญ์ท่านนี้ ปราชญ์ผู้ถ่อมตน สมถะ เอื้ออารี และมีเมตตา
• ทำไมคนยกย่องให้อาจารย์เป็นปราชญ์ชาวบ้าน
ก็ไม่รู้นะ ก็ต้องไปถามเขา เขาก็ว่ากันไป อาจจะเป็นเพราะว่าส่วนใหญ่เวลาคนไม่รู้อะไรก็มักจะมาถามผม พอถามแล้วเขาได้รับคำตอบที่น่าพอใจ เขาก็เลยตั้งให้เป็น ปราชญ์ ผมไม่ได้อยากเป็นนะ เขาตั้งให้เอง (หัวเราะ)
• แล้วตำแหน่ง‘ศาสตราภิชาน’เป็นอย่างไรคะ
อ๋อ...คือศาสตราภิชานนี่มันเป็นตำแหน่งที่ทางมหาวิทยาลัยเขาแต่งตั้งให้แก่บุคคลภายนอก ซึ่งต้องเป็นผู้ที่ ยืนหยัดในวิชาชีพ ทำงานในวิชาชีพนั้นด้วยความมุ่งมั่นจริง จัง อย่างเช่น หม่อมราชวงศ์จตุมงคล โสณกุล ซึ่งเป็นนักการเงิน แม้รัฐบาลทักษิณจะปลดออกจากตำแหน่งผู้ว่า การธนาคารแห่งประเทศไทย แต่ทางจุฬาลงกรณ์มหา- วิทยาลัยแต่งตั้งให้ท่านเป็นศาตราภิชานด้านการเงิน ซึ่ง ตำแหน่งนี้ไม่ใช่ตำแหน่งเกียรติยศเหมือนกับปริญญากิตติมศักดิ์ที่ทางมหาวิทยาลัยมอบให้บุคคลภายนอก ตำแหน่งศาสตราภิชานนี่เขามีเงินเดือนให้ด้วย อัตราเงินเดือนก็ค่อนข้างสูง แต่เป็นเงินที่ได้จากการบริจาคให้กับมูลนิธิที่ตั้งขึ้นมาเพื่อประโยชน์ทางวิชาการ ไม่ใช่เงินจาก งบประมาณ ซึ่งเงินเดือนดังกล่าวเขาจะให้เป็นเวลา 2 ปี ตอนที่เขาตั้งให้เป็นศาสตราภิชานผมก็ไม่รู้หรอก อยู่ๆก็ได้รับโทรศัพท์จากประธานสภามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต เขาก็ชี้แจงอย่างนั้นอย่างนี้ เขาหว่านล้อมจนผมไม่รู้จะปฏิเสธอย่างไร เขาให้ก็เป็น (หัวเราะ)
• อาจารย์เริ่มสนใจภาษาไทยจนกลายมาเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องภาษาไทย ตั้งแต่เมื่อไรคะ
ผมเริ่มมาสนใจตอนเข้ามาเรียนที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร (ปัจจุบันคือมหา วิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร) ที่กรุงเทพฯ ตอนนั้นอายุประมาณ 17 ปีได้ คือเนื่องจากผมเป็นเด็กใต้ เกิดและโตที่จังหวัดพัทลุง เลยพูดภาษากลางไม่ได้ ฟังภาษากลางไม่ออก พอขึ้นมาเรียนที่กรุงเทพฯ ผมแทบจะไม่พูดกับใครเลยนานถึง 2 ปี จะพูดเท่าที่ จำเป็นเท่านั้น ผมก็คอยสังเกตว่าไอ้นี่เขาเรียกอะไร ไอ้นั่นเขาเรียกอะไร คือคิดเป็นภาษาใต้ก่อนนะแล้วค่อยแปลเป็นภาษากลางอีกที (หัวเราะขำ) ช่วงนั้นก็พยายามตะลุยอ่านหนังสือในห้องสมุด ดูว่าตัวละครในนวนิยายเวลาเขาสนทนากันเขาพูดว่าอย่างไร เพื่อจะได้สื่อสารเป็นภาษากลางได้ จนกระทั่งผมอยู่ปีสุดท้ายผมถึงจะ พูดภาษากลางค่อนข้างคล่อง เริ่มคิดเป็นภาษากลาง ทีนี้การที่เราไม่รู้ภาษากลาง แล้วต้องคอยสังเกต ว่าเขาพูดกัน ยังไง ทำไมเขาใช้อย่างนี้ พูดอย่างนี้ และสนใจการอ่าน มันเลยติดเป็นนิสัย ประกอบกับความรู้สึกที่ว่า เอ... ทำไมคนอื่นเขาพูดจาคล่อง ก็เลยตั้งใจว่า สักวันหนึ่งเราต้องเขียนตำราภาษาไทยให้คนอื่นอ่านให้ได้ (หัวเราะ) คือมันเจ็บใจไง
• แล้วมาเป็นครูสอนภาษาไทยได้อย่างไร
คือแต่เดิมตอนที่เรียนอยู่ที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ผมเป็นนักเรียนทุนของกระทรวงศึกษาธิการ พอผมได้บรรจุเป็นครูที่โรงเรียนในจังหวัดเพชรบุรี อาจารย์ใหญ่ที่นั่นท่านเคยเป็นครูเก่าของผม ท่านเจอหน้าผมก็บอกว่าเธอมาก็ดีแล้ว ช่วยสอนวิชาภาษาไทยแทนครูที ผมก็เลยสอนวิชาภาษาไทยมาตั้งแต่บัดนั้น แล้วก็ไม่เคยเปลี่ยนไปสอนวิชาอื่นเลย ซึ่งเวลาที่สอนภาษาไทยผมก็ไปดูคู่มือการสอนต่างๆปรากฏว่าข้อมูลมันไม่ตรงกับความรู้ที่เราเคยรู้มา
เช่นวรรณคดีเรื่องหนึ่งเขียนไว้ว่า “ตีป่าสักเสร็จให้เร่งล้อมขอมหลวง” เขาก็อธิบายว่าตีเมืองจำปาสักเสร็จ.... ผมก็ ว่า เอ...เมืองป่าสัก มันไม่ใช่เมืองจำปาสักนี่ จำปาสักมันอยู่ที่อุบลฯโน่น จะยกกองทัพเรือจากอ่าวไทยไปถึงเมืองป่าสัก คนทำคู่มือคงจะไม่รู้จริง ผมเลยไปศึกษาข้อมูลและจัดทำคู่มือขึ้นมาใหม่ ซึ่งก็ทำให้ผมต้องอ่านหนังสือเยอะมาก เราก็ไปเจอข้อมูลที่มันไม่ถูกต้องอีก ผมก็เลยต้องเข้าไปหาผู้รู้ ไปคุยกับชาวบ้านในชุมชนต่างๆ ก็เลยได้เป็นคติขึ้นมาว่า “อยากได้ปริญญาให้ไปมหาวิทยาลัย อยากได้ความรู้ให้เข้าสู่ชาวบ้าน” ผมก็ไปศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ไปตามวัดวาอาราม ได้รู้จักผู้คนเยอะแยะ ประกอบกับผมสนใจงานเขียนอยู่แล้ว จึงนำสิ่งที่เรารู้มานำเสนอในรูปแบบของการเขียนหนังสือ ก็เริ่มเขียนมาทีละเล็กละน้อย เขียนไปเรื่อย จนกระทั่งมันกลายเป็นนิสัย มีอะไรก็จะต้องสืบรู้จนถึงต้นตอ ถ้าไม่รู้ถึงต้นตอมันไม่สบายใจ ไม่มั่นใจ ไม่กล้านำเสนอ
• เรียกว่าศึกษาทั้งทางด้าน ภาษา วรรณคดี และประวัติศาสตร์ควบคู่กันไป
ครับ มันต้องศึกษาควบคู่กัน เพราะสิ่งเหล่านี้มันแยกจากกันไม่ได้ ภาษาไทยหรือวรรณคดีมันก็มีรากมาจากประวัติศาสตร์ แล้วก็เกี่ยวพันกับชีวิตผู้คน อย่างตอนที่ผมไปที่หมู่บ้านสิงขร ซึ่งอยู่ตรงวัดท่าชัย จังหวัดเพชรบุรี ก็เอ..ทำไมเขาถึงเรียกว่าหมู่บ้านสิงขร ผมก็สืบค้นไปจนรู้ว่าชาวบ้านในหมู่บ้านนี้เขาอพยพมาจากเมืองสิงขร ซึ่งเหตุที่อพยพเนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศอังกฤษเข้ามาล่าอาณานิคมในแถบนี้ พออังกฤษยึดประเทศพม่าได้ ตอนกำหนดเขตแดนแทนที่อังกฤษจะชี้ตรงเส้นแบ่งแดนเดิม กลับชี้เข้ามาทางภูเขาตะนาวศรีซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดเพชรบุรีในปัจจุบัน ดังนั้นคนไทยส่วนหนึ่งเลยไปติดอยู่ในพม่า คือเดิมเขตแดนเมืองเพชรด้านตะวันตกนั้นอยู่ติดริมแม่น้ำตะนาวศรี ผมก็เข้าไปคุยกับชาวบ้าน คุยไปคุยมาเลยรู้ว่า เจ้าเมืองคนสุดท้ายที่ไปดูแลด้านเมืองเพชรตรงริมแม่น้ำตะนาวศรี ก็คือบรรพบุรุษของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ผมก็ไปสอบถามท่านว่าจริงหรือเปล่า ท่านก็บอกว่าจริง มีบันทึกของบรรพชนของท่านอยู่ บรรพชนของท่านเป็นเจ้าเมืองกรุย แล้วในช่วงนั้นทางการสั่งให้เจ้าเมืองกรุยไปดูแลเมืองเพชร เราก็ได้ความรู้เยอะ แล้วได้ความรู้เพิ่มเติมอีกว่าเมืองเพชรนั้นความจริงเขตแดนติดกับชุมพรที่บริเวณทับสะแก ทาง การเพิ่งจะมาแบ่งเป็นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เมื่อปี 2456 ก็เลยได้หลักว่าเวลาจะดูหลักฐานเอกสารต่างๆ มันต้องสืบค้นไปลึกๆ
หรืออย่างตอนที่เขียนเรื่องเรือนไทยผมก็สืบค้นเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม แล้วก็ลงทุนสร้างเรือนไทยขึ้นมาเองเลย เพื่อจะได้รู้ว่าตรงนี้เขาเรียกอะไร วิธีการสร้างทำอย่างไร ทำไมตรงนี้เรียกว่าจั่วหน้าพรหม เพราะที่หนังสือเขาอธิบายไว้มันไม่ตรงกับที่ผมไปสืบจากช่าง ผมก็ไปนั่งคุยกับช่าง ไปดูเวลาที่เขาสั่งงาน ดูว่าเขาเรียกตรงนั้นตรงนี้ว่าอะไร ก็คอยจดบันทึกไว้ ทำให้เราได้ความรู้อย่างถ่องแท้
ก็ไม่รู้นะ ก็ต้องไปถามเขา เขาก็ว่ากันไป อาจจะเป็นเพราะว่าส่วนใหญ่เวลาคนไม่รู้อะไรก็มักจะมาถามผม พอถามแล้วเขาได้รับคำตอบที่น่าพอใจ เขาก็เลยตั้งให้เป็น ปราชญ์ ผมไม่ได้อยากเป็นนะ เขาตั้งให้เอง (หัวเราะ)
• แล้วตำแหน่ง‘ศาสตราภิชาน’เป็นอย่างไรคะ
อ๋อ...คือศาสตราภิชานนี่มันเป็นตำแหน่งที่ทางมหาวิทยาลัยเขาแต่งตั้งให้แก่บุคคลภายนอก ซึ่งต้องเป็นผู้ที่ ยืนหยัดในวิชาชีพ ทำงานในวิชาชีพนั้นด้วยความมุ่งมั่นจริง จัง อย่างเช่น หม่อมราชวงศ์จตุมงคล โสณกุล ซึ่งเป็นนักการเงิน แม้รัฐบาลทักษิณจะปลดออกจากตำแหน่งผู้ว่า การธนาคารแห่งประเทศไทย แต่ทางจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยแต่งตั้งให้ท่านเป็นศาตราภิชานด้านการเงิน ซึ่ง ตำแหน่งนี้ไม่ใช่ตำแหน่งเกียรติยศเหมือนกับปริญญากิตติมศักดิ์ที่ทางมหาวิทยาลัยมอบให้บุคคลภายนอก ตำแหน่งศาสตราภิชานนี่เขามีเงินเดือนให้ด้วย อัตราเงินเดือนก็ค่อนข้างสูง แต่เป็นเงินที่ได้จากการบริจาคให้กับมูลนิธิที่ตั้งขึ้นมาเพื่อประโยชน์ทางวิชาการ ไม่ใช่เงินจาก งบประมาณ ซึ่งเงินเดือนดังกล่าวเขาจะให้เป็นเวลา 2 ปี ตอนที่เขาตั้งให้เป็นศาสตราภิชานผมก็ไม่รู้หรอก อยู่ๆก็ได้รับโทรศัพท์จากประธานสภามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต เขาก็ชี้แจงอย่างนั้นอย่างนี้ เขาหว่านล้อมจนผมไม่รู้จะปฏิเสธอย่างไร เขาให้ก็เป็น (หัวเราะ)
• อาจารย์เริ่มสนใจภาษาไทยจนกลายมาเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องภาษาไทย ตั้งแต่เมื่อไรคะ
ผมเริ่มมาสนใจตอนเข้ามาเรียนที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร (ปัจจุบันคือมหา วิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร) ที่กรุงเทพฯ ตอนนั้นอายุประมาณ 17 ปีได้ คือเนื่องจากผมเป็นเด็กใต้ เกิดและโตที่จังหวัดพัทลุง เลยพูดภาษากลางไม่ได้ ฟังภาษากลางไม่ออก พอขึ้นมาเรียนที่กรุงเทพฯ ผมแทบจะไม่พูดกับใครเลยนานถึง 2 ปี จะพูดเท่าที่ จำเป็นเท่านั้น ผมก็คอยสังเกตว่าไอ้นี่เขาเรียกอะไร ไอ้นั่นเขาเรียกอะไร คือคิดเป็นภาษาใต้ก่อนนะแล้วค่อยแปลเป็นภาษากลางอีกที (หัวเราะขำ) ช่วงนั้นก็พยายามตะลุยอ่านหนังสือในห้องสมุด ดูว่าตัวละครในนวนิยายเวลาเขาสนทนากันเขาพูดว่าอย่างไร เพื่อจะได้สื่อสารเป็นภาษากลางได้ จนกระทั่งผมอยู่ปีสุดท้ายผมถึงจะ พูดภาษากลางค่อนข้างคล่อง เริ่มคิดเป็นภาษากลาง ทีนี้การที่เราไม่รู้ภาษากลาง แล้วต้องคอยสังเกต ว่าเขาพูดกัน ยังไง ทำไมเขาใช้อย่างนี้ พูดอย่างนี้ และสนใจการอ่าน มันเลยติดเป็นนิสัย ประกอบกับความรู้สึกที่ว่า เอ... ทำไมคนอื่นเขาพูดจาคล่อง ก็เลยตั้งใจว่า สักวันหนึ่งเราต้องเขียนตำราภาษาไทยให้คนอื่นอ่านให้ได้ (หัวเราะ) คือมันเจ็บใจไง
• แล้วมาเป็นครูสอนภาษาไทยได้อย่างไร
คือแต่เดิมตอนที่เรียนอยู่ที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ผมเป็นนักเรียนทุนของกระทรวงศึกษาธิการ พอผมได้บรรจุเป็นครูที่โรงเรียนในจังหวัดเพชรบุรี อาจารย์ใหญ่ที่นั่นท่านเคยเป็นครูเก่าของผม ท่านเจอหน้าผมก็บอกว่าเธอมาก็ดีแล้ว ช่วยสอนวิชาภาษาไทยแทนครูที ผมก็เลยสอนวิชาภาษาไทยมาตั้งแต่บัดนั้น แล้วก็ไม่เคยเปลี่ยนไปสอนวิชาอื่นเลย ซึ่งเวลาที่สอนภาษาไทยผมก็ไปดูคู่มือการสอนต่างๆปรากฏว่าข้อมูลมันไม่ตรงกับความรู้ที่เราเคยรู้มา
เช่นวรรณคดีเรื่องหนึ่งเขียนไว้ว่า “ตีป่าสักเสร็จให้เร่งล้อมขอมหลวง” เขาก็อธิบายว่าตีเมืองจำปาสักเสร็จ.... ผมก็ ว่า เอ...เมืองป่าสัก มันไม่ใช่เมืองจำปาสักนี่ จำปาสักมันอยู่ที่อุบลฯโน่น จะยกกองทัพเรือจากอ่าวไทยไปถึงเมืองป่าสัก คนทำคู่มือคงจะไม่รู้จริง ผมเลยไปศึกษาข้อมูลและจัดทำคู่มือขึ้นมาใหม่ ซึ่งก็ทำให้ผมต้องอ่านหนังสือเยอะมาก เราก็ไปเจอข้อมูลที่มันไม่ถูกต้องอีก ผมก็เลยต้องเข้าไปหาผู้รู้ ไปคุยกับชาวบ้านในชุมชนต่างๆ ก็เลยได้เป็นคติขึ้นมาว่า “อยากได้ปริญญาให้ไปมหาวิทยาลัย อยากได้ความรู้ให้เข้าสู่ชาวบ้าน” ผมก็ไปศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ไปตามวัดวาอาราม ได้รู้จักผู้คนเยอะแยะ ประกอบกับผมสนใจงานเขียนอยู่แล้ว จึงนำสิ่งที่เรารู้มานำเสนอในรูปแบบของการเขียนหนังสือ ก็เริ่มเขียนมาทีละเล็กละน้อย เขียนไปเรื่อย จนกระทั่งมันกลายเป็นนิสัย มีอะไรก็จะต้องสืบรู้จนถึงต้นตอ ถ้าไม่รู้ถึงต้นตอมันไม่สบายใจ ไม่มั่นใจ ไม่กล้านำเสนอ
• เรียกว่าศึกษาทั้งทางด้าน ภาษา วรรณคดี และประวัติศาสตร์ควบคู่กันไป
ครับ มันต้องศึกษาควบคู่กัน เพราะสิ่งเหล่านี้มันแยกจากกันไม่ได้ ภาษาไทยหรือวรรณคดีมันก็มีรากมาจากประวัติศาสตร์ แล้วก็เกี่ยวพันกับชีวิตผู้คน อย่างตอนที่ผมไปที่หมู่บ้านสิงขร ซึ่งอยู่ตรงวัดท่าชัย จังหวัดเพชรบุรี ก็เอ..ทำไมเขาถึงเรียกว่าหมู่บ้านสิงขร ผมก็สืบค้นไปจนรู้ว่าชาวบ้านในหมู่บ้านนี้เขาอพยพมาจากเมืองสิงขร ซึ่งเหตุที่อพยพเนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศอังกฤษเข้ามาล่าอาณานิคมในแถบนี้ พออังกฤษยึดประเทศพม่าได้ ตอนกำหนดเขตแดนแทนที่อังกฤษจะชี้ตรงเส้นแบ่งแดนเดิม กลับชี้เข้ามาทางภูเขาตะนาวศรีซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดเพชรบุรีในปัจจุบัน ดังนั้นคนไทยส่วนหนึ่งเลยไปติดอยู่ในพม่า คือเดิมเขตแดนเมืองเพชรด้านตะวันตกนั้นอยู่ติดริมแม่น้ำตะนาวศรี ผมก็เข้าไปคุยกับชาวบ้าน คุยไปคุยมาเลยรู้ว่า เจ้าเมืองคนสุดท้ายที่ไปดูแลด้านเมืองเพชรตรงริมแม่น้ำตะนาวศรี ก็คือบรรพบุรุษของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ผมก็ไปสอบถามท่านว่าจริงหรือเปล่า ท่านก็บอกว่าจริง มีบันทึกของบรรพชนของท่านอยู่ บรรพชนของท่านเป็นเจ้าเมืองกรุย แล้วในช่วงนั้นทางการสั่งให้เจ้าเมืองกรุยไปดูแลเมืองเพชร เราก็ได้ความรู้เยอะ แล้วได้ความรู้เพิ่มเติมอีกว่าเมืองเพชรนั้นความจริงเขตแดนติดกับชุมพรที่บริเวณทับสะแก ทาง การเพิ่งจะมาแบ่งเป็นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์เมื่อปี 2456 ก็เลยได้หลักว่าเวลาจะดูหลักฐานเอกสารต่างๆ มันต้องสืบค้นไปลึกๆ
หรืออย่างตอนที่เขียนเรื่องเรือนไทยผมก็สืบค้นเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม แล้วก็ลงทุนสร้างเรือนไทยขึ้นมาเองเลย เพื่อจะได้รู้ว่าตรงนี้เขาเรียกอะไร วิธีการสร้างทำอย่างไร ทำไมตรงนี้เรียกว่าจั่วหน้าพรหม เพราะที่หนังสือเขาอธิบายไว้มันไม่ตรงกับที่ผมไปสืบจากช่าง ผมก็ไปนั่งคุยกับช่าง ไปดูเวลาที่เขาสั่งงาน ดูว่าเขาเรียกตรงนั้นตรงนี้ว่าอะไร ก็คอยจดบันทึกไว้ ทำให้เราได้ความรู้อย่างถ่องแท้
• วรรณกรรมการเมืองก็เป็นสาขาวิชาหนึ่งที่อาจารย์ มีความเชี่ยวชาญเหมือนกัน ใช่ไหมคะ
วิชานี้ก็เป็นวิชาหนึ่งที่ผมสอนตอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ผมสอนวิชานี้อยู่คนเดียว เพราะอาจารย์ท่านอื่นเขาไม่อยากสอนกัน ซึ่งจริงๆแล้ววรรณกรรมการ เมืองก็มีอยู่เยอะแยะนะ ทุกเรื่องเป็นการเมืองได้หมด คือเราใช้สังคมและการเมืองไปตีความวรรณกรรม อย่างเรื่อง ลิลิตพระลอเนี่ยถ้าเราเอาการเมืองเข้าไปจับก็สามารถอธิบายได้ว่า ในเรื่องของอำนาจนั้นเมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะ มีทางแยก 2 ทาง คือเรื่องกามารมณ์และเรื่องความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง แต่ถ้าเลือกทางกามารมณ์อย่างที่พระลอเลือก ปลายทางก็คือความตาย หนังสือในปัจจุบันก็มีวรรณกรรมการเมืองเยอะ บทกลอนต่างๆที่สะท้อนภาพการเมืองในสมัย 14 ตุลาฯ เขาเขียนลงในหนังสือพิมพ์ ผมก็เอามาสอนนักศึกษา
คือวรรณกรรมการเมืองมันเป็นเรื่องของการสะท้อนภาพของสังคมในช่วงนั้น อย่างมีกลอนบทหนึ่งชื่อว่า ‘ตาสีตาสา’ เขียนลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ช่วงหลังจาก 6 ตุลาฯ 2519 เขาเขียนเป็นภาพคนกำลังสักการะพระบรมรูปรัชกาล ที่ 5 แล้วมีบทกลอนว่า
‘โอ้ว่า..พระทูลกระหม่อมแก้วลูกสละสิ้นแล้วซึ่งสังขาร์
มันยิงลูกดับดิ้นสิ้นชีวา มิทันได้ทูลลาพระทรงชัย
นับแต่มันบริหารการแผ่นดินความสุขเท่าผีกลิ้นหามีไม่
ข้าวยากหมากแพงทุกแห่งไป โจรภัยจี้ปล้นล้นพารา’
มันก็สะท้อนถึงสภาพสังคมในช่วงนั้นว่ารัฐใช้อำนาจรังแกประชาชน
• ทำไมถึงมาเขียนหนังสือ‘คู่มือพุทธประวัติ’
คือช่วงนั้นผมเป็นอนุกรรมการวิชาการของคุรุสภา เขาก็ มอบหมายให้ช่วยเขียนคู่มือวรรณคดีสำหรับผู้ที่สอบชุด วิชาพ.ม.(หลักสูตรวิชาชุดครูพิเศษ) ทีนี้มันมีเรื่องพุทธ- ประวัติด้วย แต่หาคนเขียนไม่ได้ เขาเลยให้ผมช่วยเขียน ก่อนเขียนผมก็ต้องไปค้นคว้า เขียนเสร็จก็ให้ทางคุรุสภา ไปเลยกลายเป็นคู่มือพุทธประวัติ ที่จริงผมก็ไม่ได้ร่ำเรียนมาทางพุทธศาสนานะ ผมก็ไปถามอาจารย์ผู้รู้ต่างๆ เช่น สมถวิปัสนาเป็นอย่างไร เนวสัญญาคืออะไร คำศัพท์นี้แปลว่าอะไร แล้วไม่ใช่ถามจากนักวิชาการอย่างเดียวนะ ผมไปสอบถามจากนักปฏิบัติด้วย เพราะเราต้องการให้ได้ข้อมูล ที่ถูกต้องที่สุด ต้องสืบค้นกันจนถึงต้นตอเลย
• มีสนใจค้นคว้าเรื่องไหนเป็นพิเศษ หรือพอใจเป็นพิเศษไหมคะ
ความจริงก็สนใจทุกเรื่องที่มันผ่านเข้ามาในชีวิตน่ะแหละ อะไรที่มันเป็นปัญหาเราก็ต้องคิดแก้จนได้ บางคนรู้สึกว่าผม ทำงานเยอะ รู้เรื่องนั้นเรื่องนี้เยอะ ความจริงก็ไม่เยอะหรอก เพราะตอนนี้ผมอายุปาเข้าไป 70 กว่าแล้ว จะให้ทำงานน้อยๆ เหมือนคนอายุ 20 ได้ยังไง บังเอิญว่าผมสนใจอะไรแล้วก็อยากจะรู้ให้ลึก รู้ให้จริง
ผมก็พอใจทุกเรื่องนะ เพราะผมสืบค้นจนรู้ลึก จนพอใจ ผมถึงจะนำเสนอ ถ้ายังไม่พอใจผมก็ยังไม่นำเสนอ ถ้าถาม ว่าเรื่องไหนพอใจที่สุด ผมคงตอบไม่ได้ ผมพอใจแล้วผมก็ หยุดอยู่แค่นั้น พอใครมาถามเรื่องอะไร ผมก็ศึกษาต่อไปอีก
• ในที่สุดอาจารย์ก็ได้เขียนตำราภาษาไทยตามที่ได้ตั้งใจไว้ แล้วก็เขียนบทความให้ความรู้อีกมากมาย
ครับ ก็มีอยู่หลายเล่ม อย่างภูมิพื้นภาษาไทยก็มีอยู่ชุด หนึ่ง มี 3 เล่ม แล้วมีอธิบายสำนวนไทยอยู่ชุดหนึ่ง ซึ่งพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มติชน มี 3 เล่มเช่นกัน ได้แก่ ‘เสนาะ เสน่ห์ สำนวนไทย’ เล่มที่สองคือ ‘สนั่น สนาน สำนวนไทย’ และเล่มที่สามชื่อ ‘ภาษาสยาม’ แล้วก็มีชุด ‘ค้นคำ เค้นความ’ คือเมื่อก่อนผมเขียนคอลัมน์ประจำอยู่ที่นิตยสารฟ้าเมือง ไทย ก็เอามารวบรวมพิมพ์เป็นเล่ม จากนั้นใครให้เขียนอะไรก็เขียนมาเรื่อย เขียนจนจำไม่ได้ว่าเขียนเรื่องอะไรบ้างเพราะเยอะไปหมด เขียนแล้วก็แล้วกัน
• รวมทั้งเขียนพจนานุกรมด้วยใช่ไหมคะ
อ๋อ...อันนั้นผมไปทำให้กับสำนักพิมพ์มติชน คือคุณ สุจิตต์ (สุจิตต์ วงษ์เทศ) แกบอกผมไว้นานแล้วว่าอยากให้ช่วยทำพจนานุกรมให้สักฉบับหนึ่ง ผมก็ผัดผ่อนแกมาเรื่อย ช่วงก่อนที่ผมจะเกษียณไม่กี่เดือนแกก็บอกว่ามาทำให้ที เถอะ ก็เลยไปช่วยกันทำ ก็เป็นการทำงานที่สนุกพอสมควร ได้พจนานุกรมมาเล่มหนึ่ง แต่ก็ยังไม่เป็นที่พอใจนัก เนื่อง จากว่าพจนานุกรมฉบับนั้นใช้เวลาเขียนแค่ 2 ปีเท่านั้น ซึ่งถือว่าน้อยมาก ก็คิดอยู่ว่าสักวันหนึ่งอาจจะต้องปรับปรุง เพราะยังมีสิ่งบกพร่องที่ต้องเพิ่มเติมอะไรอีกเยอะ
• อาจารย์มองวิวัฒนาการของภาษาไทยอย่างไรคะ เพราะมีคนตั้งข้อสังเกตว่าตอนนี้มีศัพท์แสลงเกิดขึ้นเยอะ อาจารย์เป็นห่วงไหม
ไม่นะ.. ผมมองว่าภาษาเป็นสิ่งมีชีวิตอย่างหนึ่ง มีเกิด มีเปลี่ยนแปลง แล้วก็มีดับไปเป็นธรรมดา เหมือนกับคนเราที่เกิด เติบโต แก่ชรา แล้วก็ตายไปในที่สุด ผมเลยไม่ รู้สึกอะไร ผมมองว่าเป็นเรื่องธรรมดา เด็กรุ่นใหม่จะพูดอะไรก็พูดไป ถ้าภาษาที่เขาพูดมันแข็งแรง มันก็คงส่งเป็นมรดกต่อไป แต่ถ้าไม่ไหวมันก็ตายไปเอง
สมัยผมเป็นวัยรุ่นมันก็มีศัพท์แสลงนะ แต่ไม่เยอะเหมือนสมัยนี้ ซึ่งอาจจะเป็นเพราะปัจจุบันสื่อต่างๆมันกว้างขวางและหลากหลายขึ้น เด็กเข้าหาสื่อได้ง่ายขึ้น ทั้งโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และอินเตอร์เน็ต มันก็เกิดคำแสลงเยอะขึ้น
• การมีคำแสลงเยอะๆจะทำให้เกิดภาษาวิบัติรึเปล่า
ผมไม่ได้มองอย่างนั้นนะ คือถ้าคิดว่าคำแสลงจะทำให้เกิดภาษาวิบัติมันก็วิบัติมาตั้งแต่สมัยไหนๆแล้ว จะเห็นได้ว่าบันทึกตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาก็มีการพูดถึงเรื่องนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 ก็มีการบ่นว่าช่วงนั้นเกิดปัญหาเรื่องภาษาวิบัติ อย่างในสมัยรัชกาลที่ 6 พระองค์ท่านก็ทรงบันทึกไว้ว่า “อ่านอ่านรำคาญฮือ หนังสือสมัยใหม่ อย่างเราไม่เข้าใจ........” แต่ปัจจุบันเราก็ยังยกย่องว่าภาษาในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้นเป็นภาษาที่สละสลวยงดงาม เพราะฉะนั้นอีก 50-60 ปีข้างหน้า คนมาอ่านภาษาสมัยนี้เขาอาจจะบอกว่าดีก็ได้ ผมว่าหัวใจของภาษาคือการสื่อสารนะ เมื่อใดที่สามารถสื่อสารกันรู้เรื่องก็ถือว่าบรรลุผลแล้ว ส่วนจะสื่อกันโดยวิธีไหนอย่างไรนั้นก็เป็นเรื่องเฉพาะบุคคล อย่าไปวิตกกังวลเลย เพราะ ‘ลมก็ย่อมเลือกทางพัดได้เอง’
• มีอยู่ช่วงหนึ่งที่วัยรุ่นนิยมเขียนคำว่า ‘นู๋’ แทนคำว่า ‘หนู’ มันผิดอะไรมากไหม
มันก็เป็นเรื่องของการทดลอง อย่าลืมว่าเรื่องของภาษา เรื่องของวัฒนธรรมมันต้องการการทดลอง แล้วก็นำเสนอออกไป ถ้าคนเห็นด้วยมันก็สืบสานต่อไป แต่ถ้าคนไม่เห็นด้วยมันก็เลิกราไป จริงอยู่ว่ามันผิดหลัก แต่อย่าลืมว่าหลักเกณฑ์ต่างๆมันเกิดมาจากคนใช้นะ คนใช้จึงทำให้เกิดหลัก ไม่ใช่ใช้ตามหลักนะ อย่างเวลาคุณพูดหรือคุณใช้ภาษาก็ไม่ เคยนึกว่าหลักมันกำหนดว่าอย่างไร หลักเกณฑ์ทั้งหลายมัน เป็นเรื่องของนักวิชาการเขาไปตามเก็บรวบรวมจากที่คนใช้กันแล้วมาวางเป็นหลักเกณฑ์ พูดง่ายๆว่าคนใช้เดินหน้า แล้วตำราตามมาทีหลัง ธรรมชาติมันเป็นเช่นนั้น
เพราะฉะนั้นเราอย่าไปวิตก ปล่อยให้มันเป็นไปตามธรรมชาติ มันจะคลี่คลายอย่างช้าๆ เราจะบีบบังคับให้มันเปลี่ยนแปลงไปตามใจเรานั้นไม่ได้หรอก ถ้าทำอย่างนั้น เรียกว่าเป็น ‘ฆาตกรทางภาษา’ ยกตัวอย่างภาษาสันสกฤต มีคนสร้างไวยากรณ์เอาไว้ว่าจะต้องอ่านอย่างนั้น ใช้ในความหมายอย่างนี้ ผลสุดท้ายภาษาสันสกฤตก็ตายไป เพราะมันใช้ยากคนเลยไม่ใช้ ภาษาบาลีก็เหมือนกัน นักปราชญ์ ทางภาษาบาลีก็บอกว่าต้องทำอย่างนั้น ต้องเป็นแบบนี้ คน เลยไม่ใช้ ภาษาบาลีก็ตายอีก คือถ้าเราไปบีบบังคับภาษามันก็จะตายไป ดังนั้นเราต้องปล่อยให้มันคลี่คลายไปตามธรรมชาติ มันถึงจะมีชีวิตอยู่ได้ ต้องถามว่าแล้วเราอยากทำ ให้ภาษาตายไหมล่ะ ถ้าเราทำให้ภาษาตาย เราก็เป็นฆาตกร เพราะฉะนั้นผมจึงไม่อยากเป็นฆาตกรของภาษาไทย (ยิ้มอย่างอารมณ์ดี)
• เนื่องจากวันที่ 20 กันยายนนี้ เป็นวันเยาวชน แห่งชาติ หากเยาวชนคนรุ่นใหม่อยากจะมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาไทย อาจารย์มีคำแนะนำอะไรบ้างคะ
ก็อ่านหนังสือเยอะๆ ความรู้ของคนเรามันก็เหมือน น้ำในโอ่ง ก่อนจะตักน้ำในโอ่งมาใช้ได้ เราก็ต้องตักน้ำใส่ โอ่งเสียก่อน ถ้าในโอ่งไม่มีน้ำ ก็ไม่รู้จะเอาน้ำที่ไหนมาใช้ ก็เหมือนกับการที่เราจะพูดจะเขียนให้ได้ดี เราก็ต้องอ่านเยอะเพื่อให้มีความรู้เสียก่อน สมัยเรียนผมอ่านหนังสือ แทบหมดทั้งห้องสมุด อ่านทุกเล่ม เวลาบรรณารักษ์บันทึกการยืมหนังสือ จะเห็นเลยว่ามีหนังสือหลายเล่มมากที่ชื่อผมเป็นชื่อแรกที่ยืมหนังสือ ดังนั้นหากเยาวชนอยากมีความรู้เรื่องภาษาไทยก็ต้องเริ่มจากการอ่านเยอะๆ (ยิ้มใจดี)
.........
ในวัย 72 ปีของอาจารย์ล้อมในวันนี้ มิใช่วัยวันที่วางมือ หรือหยุดนิ่งต่อการทำงาน แต่ยังคงเขียนหนังสือผ่านทางสื่อ สิ่งพิมพ์มากมาย เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป รวมทั้งการไปบรรยายให้ความรู้แก่คนรุ่นลูกรุ่นหลานอย่างไม่รู้่เหน็ดเหนื่อย ด้วยเหตุผลที่ว่าเวลาการทำงานเหลือน้อยลงทุกวัน ดังเช่นที่อาจารย์ได้บอกไว้ว่า “ตอนนี้ผมอายุปาเข้าไป 70 กว่าแล้ว จะให้ทำงานน้อยๆเหมือนคนอายุ 20 ได้ยังไง”
วิชานี้ก็เป็นวิชาหนึ่งที่ผมสอนตอนอยู่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ผมสอนวิชานี้อยู่คนเดียว เพราะอาจารย์ท่านอื่นเขาไม่อยากสอนกัน ซึ่งจริงๆแล้ววรรณกรรมการ เมืองก็มีอยู่เยอะแยะนะ ทุกเรื่องเป็นการเมืองได้หมด คือเราใช้สังคมและการเมืองไปตีความวรรณกรรม อย่างเรื่อง ลิลิตพระลอเนี่ยถ้าเราเอาการเมืองเข้าไปจับก็สามารถอธิบายได้ว่า ในเรื่องของอำนาจนั้นเมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะ มีทางแยก 2 ทาง คือเรื่องกามารมณ์และเรื่องความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง แต่ถ้าเลือกทางกามารมณ์อย่างที่พระลอเลือก ปลายทางก็คือความตาย หนังสือในปัจจุบันก็มีวรรณกรรมการเมืองเยอะ บทกลอนต่างๆที่สะท้อนภาพการเมืองในสมัย 14 ตุลาฯ เขาเขียนลงในหนังสือพิมพ์ ผมก็เอามาสอนนักศึกษา
คือวรรณกรรมการเมืองมันเป็นเรื่องของการสะท้อนภาพของสังคมในช่วงนั้น อย่างมีกลอนบทหนึ่งชื่อว่า ‘ตาสีตาสา’ เขียนลงในหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ช่วงหลังจาก 6 ตุลาฯ 2519 เขาเขียนเป็นภาพคนกำลังสักการะพระบรมรูปรัชกาล ที่ 5 แล้วมีบทกลอนว่า
‘โอ้ว่า..พระทูลกระหม่อมแก้วลูกสละสิ้นแล้วซึ่งสังขาร์
มันยิงลูกดับดิ้นสิ้นชีวา มิทันได้ทูลลาพระทรงชัย
นับแต่มันบริหารการแผ่นดินความสุขเท่าผีกลิ้นหามีไม่
ข้าวยากหมากแพงทุกแห่งไป โจรภัยจี้ปล้นล้นพารา’
มันก็สะท้อนถึงสภาพสังคมในช่วงนั้นว่ารัฐใช้อำนาจรังแกประชาชน
• ทำไมถึงมาเขียนหนังสือ‘คู่มือพุทธประวัติ’
คือช่วงนั้นผมเป็นอนุกรรมการวิชาการของคุรุสภา เขาก็ มอบหมายให้ช่วยเขียนคู่มือวรรณคดีสำหรับผู้ที่สอบชุด วิชาพ.ม.(หลักสูตรวิชาชุดครูพิเศษ) ทีนี้มันมีเรื่องพุทธ- ประวัติด้วย แต่หาคนเขียนไม่ได้ เขาเลยให้ผมช่วยเขียน ก่อนเขียนผมก็ต้องไปค้นคว้า เขียนเสร็จก็ให้ทางคุรุสภา ไปเลยกลายเป็นคู่มือพุทธประวัติ ที่จริงผมก็ไม่ได้ร่ำเรียนมาทางพุทธศาสนานะ ผมก็ไปถามอาจารย์ผู้รู้ต่างๆ เช่น สมถวิปัสนาเป็นอย่างไร เนวสัญญาคืออะไร คำศัพท์นี้แปลว่าอะไร แล้วไม่ใช่ถามจากนักวิชาการอย่างเดียวนะ ผมไปสอบถามจากนักปฏิบัติด้วย เพราะเราต้องการให้ได้ข้อมูล ที่ถูกต้องที่สุด ต้องสืบค้นกันจนถึงต้นตอเลย
• มีสนใจค้นคว้าเรื่องไหนเป็นพิเศษ หรือพอใจเป็นพิเศษไหมคะ
ความจริงก็สนใจทุกเรื่องที่มันผ่านเข้ามาในชีวิตน่ะแหละ อะไรที่มันเป็นปัญหาเราก็ต้องคิดแก้จนได้ บางคนรู้สึกว่าผม ทำงานเยอะ รู้เรื่องนั้นเรื่องนี้เยอะ ความจริงก็ไม่เยอะหรอก เพราะตอนนี้ผมอายุปาเข้าไป 70 กว่าแล้ว จะให้ทำงานน้อยๆ เหมือนคนอายุ 20 ได้ยังไง บังเอิญว่าผมสนใจอะไรแล้วก็อยากจะรู้ให้ลึก รู้ให้จริง
ผมก็พอใจทุกเรื่องนะ เพราะผมสืบค้นจนรู้ลึก จนพอใจ ผมถึงจะนำเสนอ ถ้ายังไม่พอใจผมก็ยังไม่นำเสนอ ถ้าถาม ว่าเรื่องไหนพอใจที่สุด ผมคงตอบไม่ได้ ผมพอใจแล้วผมก็ หยุดอยู่แค่นั้น พอใครมาถามเรื่องอะไร ผมก็ศึกษาต่อไปอีก
• ในที่สุดอาจารย์ก็ได้เขียนตำราภาษาไทยตามที่ได้ตั้งใจไว้ แล้วก็เขียนบทความให้ความรู้อีกมากมาย
ครับ ก็มีอยู่หลายเล่ม อย่างภูมิพื้นภาษาไทยก็มีอยู่ชุด หนึ่ง มี 3 เล่ม แล้วมีอธิบายสำนวนไทยอยู่ชุดหนึ่ง ซึ่งพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มติชน มี 3 เล่มเช่นกัน ได้แก่ ‘เสนาะ เสน่ห์ สำนวนไทย’ เล่มที่สองคือ ‘สนั่น สนาน สำนวนไทย’ และเล่มที่สามชื่อ ‘ภาษาสยาม’ แล้วก็มีชุด ‘ค้นคำ เค้นความ’ คือเมื่อก่อนผมเขียนคอลัมน์ประจำอยู่ที่นิตยสารฟ้าเมือง ไทย ก็เอามารวบรวมพิมพ์เป็นเล่ม จากนั้นใครให้เขียนอะไรก็เขียนมาเรื่อย เขียนจนจำไม่ได้ว่าเขียนเรื่องอะไรบ้างเพราะเยอะไปหมด เขียนแล้วก็แล้วกัน
• รวมทั้งเขียนพจนานุกรมด้วยใช่ไหมคะ
อ๋อ...อันนั้นผมไปทำให้กับสำนักพิมพ์มติชน คือคุณ สุจิตต์ (สุจิตต์ วงษ์เทศ) แกบอกผมไว้นานแล้วว่าอยากให้ช่วยทำพจนานุกรมให้สักฉบับหนึ่ง ผมก็ผัดผ่อนแกมาเรื่อย ช่วงก่อนที่ผมจะเกษียณไม่กี่เดือนแกก็บอกว่ามาทำให้ที เถอะ ก็เลยไปช่วยกันทำ ก็เป็นการทำงานที่สนุกพอสมควร ได้พจนานุกรมมาเล่มหนึ่ง แต่ก็ยังไม่เป็นที่พอใจนัก เนื่อง จากว่าพจนานุกรมฉบับนั้นใช้เวลาเขียนแค่ 2 ปีเท่านั้น ซึ่งถือว่าน้อยมาก ก็คิดอยู่ว่าสักวันหนึ่งอาจจะต้องปรับปรุง เพราะยังมีสิ่งบกพร่องที่ต้องเพิ่มเติมอะไรอีกเยอะ
• อาจารย์มองวิวัฒนาการของภาษาไทยอย่างไรคะ เพราะมีคนตั้งข้อสังเกตว่าตอนนี้มีศัพท์แสลงเกิดขึ้นเยอะ อาจารย์เป็นห่วงไหม
ไม่นะ.. ผมมองว่าภาษาเป็นสิ่งมีชีวิตอย่างหนึ่ง มีเกิด มีเปลี่ยนแปลง แล้วก็มีดับไปเป็นธรรมดา เหมือนกับคนเราที่เกิด เติบโต แก่ชรา แล้วก็ตายไปในที่สุด ผมเลยไม่ รู้สึกอะไร ผมมองว่าเป็นเรื่องธรรมดา เด็กรุ่นใหม่จะพูดอะไรก็พูดไป ถ้าภาษาที่เขาพูดมันแข็งแรง มันก็คงส่งเป็นมรดกต่อไป แต่ถ้าไม่ไหวมันก็ตายไปเอง
สมัยผมเป็นวัยรุ่นมันก็มีศัพท์แสลงนะ แต่ไม่เยอะเหมือนสมัยนี้ ซึ่งอาจจะเป็นเพราะปัจจุบันสื่อต่างๆมันกว้างขวางและหลากหลายขึ้น เด็กเข้าหาสื่อได้ง่ายขึ้น ทั้งโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ และอินเตอร์เน็ต มันก็เกิดคำแสลงเยอะขึ้น
• การมีคำแสลงเยอะๆจะทำให้เกิดภาษาวิบัติรึเปล่า
ผมไม่ได้มองอย่างนั้นนะ คือถ้าคิดว่าคำแสลงจะทำให้เกิดภาษาวิบัติมันก็วิบัติมาตั้งแต่สมัยไหนๆแล้ว จะเห็นได้ว่าบันทึกตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาก็มีการพูดถึงเรื่องนี้ ในสมัยรัชกาลที่ 5 รัชกาลที่ 6 ก็มีการบ่นว่าช่วงนั้นเกิดปัญหาเรื่องภาษาวิบัติ อย่างในสมัยรัชกาลที่ 6 พระองค์ท่านก็ทรงบันทึกไว้ว่า “อ่านอ่านรำคาญฮือ หนังสือสมัยใหม่ อย่างเราไม่เข้าใจ........” แต่ปัจจุบันเราก็ยังยกย่องว่าภาษาในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้นเป็นภาษาที่สละสลวยงดงาม เพราะฉะนั้นอีก 50-60 ปีข้างหน้า คนมาอ่านภาษาสมัยนี้เขาอาจจะบอกว่าดีก็ได้ ผมว่าหัวใจของภาษาคือการสื่อสารนะ เมื่อใดที่สามารถสื่อสารกันรู้เรื่องก็ถือว่าบรรลุผลแล้ว ส่วนจะสื่อกันโดยวิธีไหนอย่างไรนั้นก็เป็นเรื่องเฉพาะบุคคล อย่าไปวิตกกังวลเลย เพราะ ‘ลมก็ย่อมเลือกทางพัดได้เอง’
• มีอยู่ช่วงหนึ่งที่วัยรุ่นนิยมเขียนคำว่า ‘นู๋’ แทนคำว่า ‘หนู’ มันผิดอะไรมากไหม
มันก็เป็นเรื่องของการทดลอง อย่าลืมว่าเรื่องของภาษา เรื่องของวัฒนธรรมมันต้องการการทดลอง แล้วก็นำเสนอออกไป ถ้าคนเห็นด้วยมันก็สืบสานต่อไป แต่ถ้าคนไม่เห็นด้วยมันก็เลิกราไป จริงอยู่ว่ามันผิดหลัก แต่อย่าลืมว่าหลักเกณฑ์ต่างๆมันเกิดมาจากคนใช้นะ คนใช้จึงทำให้เกิดหลัก ไม่ใช่ใช้ตามหลักนะ อย่างเวลาคุณพูดหรือคุณใช้ภาษาก็ไม่ เคยนึกว่าหลักมันกำหนดว่าอย่างไร หลักเกณฑ์ทั้งหลายมัน เป็นเรื่องของนักวิชาการเขาไปตามเก็บรวบรวมจากที่คนใช้กันแล้วมาวางเป็นหลักเกณฑ์ พูดง่ายๆว่าคนใช้เดินหน้า แล้วตำราตามมาทีหลัง ธรรมชาติมันเป็นเช่นนั้น
เพราะฉะนั้นเราอย่าไปวิตก ปล่อยให้มันเป็นไปตามธรรมชาติ มันจะคลี่คลายอย่างช้าๆ เราจะบีบบังคับให้มันเปลี่ยนแปลงไปตามใจเรานั้นไม่ได้หรอก ถ้าทำอย่างนั้น เรียกว่าเป็น ‘ฆาตกรทางภาษา’ ยกตัวอย่างภาษาสันสกฤต มีคนสร้างไวยากรณ์เอาไว้ว่าจะต้องอ่านอย่างนั้น ใช้ในความหมายอย่างนี้ ผลสุดท้ายภาษาสันสกฤตก็ตายไป เพราะมันใช้ยากคนเลยไม่ใช้ ภาษาบาลีก็เหมือนกัน นักปราชญ์ ทางภาษาบาลีก็บอกว่าต้องทำอย่างนั้น ต้องเป็นแบบนี้ คน เลยไม่ใช้ ภาษาบาลีก็ตายอีก คือถ้าเราไปบีบบังคับภาษามันก็จะตายไป ดังนั้นเราต้องปล่อยให้มันคลี่คลายไปตามธรรมชาติ มันถึงจะมีชีวิตอยู่ได้ ต้องถามว่าแล้วเราอยากทำ ให้ภาษาตายไหมล่ะ ถ้าเราทำให้ภาษาตาย เราก็เป็นฆาตกร เพราะฉะนั้นผมจึงไม่อยากเป็นฆาตกรของภาษาไทย (ยิ้มอย่างอารมณ์ดี)
• เนื่องจากวันที่ 20 กันยายนนี้ เป็นวันเยาวชน แห่งชาติ หากเยาวชนคนรุ่นใหม่อยากจะมีความเชี่ยวชาญด้านภาษาไทย อาจารย์มีคำแนะนำอะไรบ้างคะ
ก็อ่านหนังสือเยอะๆ ความรู้ของคนเรามันก็เหมือน น้ำในโอ่ง ก่อนจะตักน้ำในโอ่งมาใช้ได้ เราก็ต้องตักน้ำใส่ โอ่งเสียก่อน ถ้าในโอ่งไม่มีน้ำ ก็ไม่รู้จะเอาน้ำที่ไหนมาใช้ ก็เหมือนกับการที่เราจะพูดจะเขียนให้ได้ดี เราก็ต้องอ่านเยอะเพื่อให้มีความรู้เสียก่อน สมัยเรียนผมอ่านหนังสือ แทบหมดทั้งห้องสมุด อ่านทุกเล่ม เวลาบรรณารักษ์บันทึกการยืมหนังสือ จะเห็นเลยว่ามีหนังสือหลายเล่มมากที่ชื่อผมเป็นชื่อแรกที่ยืมหนังสือ ดังนั้นหากเยาวชนอยากมีความรู้เรื่องภาษาไทยก็ต้องเริ่มจากการอ่านเยอะๆ (ยิ้มใจดี)
.........
ในวัย 72 ปีของอาจารย์ล้อมในวันนี้ มิใช่วัยวันที่วางมือ หรือหยุดนิ่งต่อการทำงาน แต่ยังคงเขียนหนังสือผ่านทางสื่อ สิ่งพิมพ์มากมาย เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป รวมทั้งการไปบรรยายให้ความรู้แก่คนรุ่นลูกรุ่นหลานอย่างไม่รู้่เหน็ดเหนื่อย ด้วยเหตุผลที่ว่าเวลาการทำงานเหลือน้อยลงทุกวัน ดังเช่นที่อาจารย์ได้บอกไว้ว่า “ตอนนี้ผมอายุปาเข้าไป 70 กว่าแล้ว จะให้ทำงานน้อยๆเหมือนคนอายุ 20 ได้ยังไง”
(จากหนังสือธรรมลีลา ฉบับที่ 94 ก.ย. 51 โดยจินตปาฏิ)