ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง สั่งจำคุก 1 ปีไม่รอลงอาญา “นพ.สุรพงษ์” อดีต รมว.กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) แก้ไขสัมปทานดาวเทียมเอื้อชินคอร์ป ส่วน “ไกรสร-ไชยยันต์” อดีตรองปลัดไอซีที ให้รอลงอาญา 5 ปี ปรับ 2 หมื่น
วานนี้(25 ส.ค.) ที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาขอ งผู้ดำ ร งตำ แหน่ งทา งการเมือง ถ.แจ้งวัฒนะ ศาลนัดฟังคำ พิพากษาในคดีหมายเลขดำ อม.66/2558 ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ป.ป.ช.) เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง นพ.สุรพงษ์สืบวงศ์ลีหรือหมอเลี้ยบ อดีต รมว.กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) สมัยรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร, นายไกรสร พรสุธีอดีตปลัดกระทรวงไอซีทีและนายไชยยันต์พึ่งเกียรติไพโรจน์ อดีตผู้อำ นวยการสำ นักกิจการอวกาศแห่งชาติและอดีตปลัดกระทรวงไอซีที ยุครัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ชินวัตร เป็นจำ เลยที่ 1-3 ในความผิดต่อตำ แหน่งหน้าที่ราชการ ฐานเป็น เจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่ง ผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157
กรณีที่มีการอนุมัติแก้ไขสัญญาสัมปทานโครงการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ (ฉบับที่5) เพื่อลดสัดส่วนการถือหุ้นของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่นจำ กัด (มหาชน) (ชินคอร์ป) ที่ต้องถือในบริษัทชิน แซทเทลไลท์จำ กัด (มหาชน) จากไม่น้อยกว่า 51% เป็นไม่น้อยกว่า 40% ของจำ นวนหุ้น ทั้งหมด โดยทราบดีอยู่แล้วว่า เหตุที่บริษัทขอลดสัดส่วนการถือหุ้น เพื่อต้องการหาพันธมิตรขยายศักยภาพในการแข่งขันให้มีความเข้มแข็งและมีเงินทุนเพียงพอในการดำ เนินการโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์โดย จำ เลยทั้งสามเดินทางมาศาล มีครอบครัวและผู้ใกล้ชิดมาให้กำ ลังใจจำ นวนมากจนท.ราชทัณฑ์หิ้วไปนอนคุกทันที
จนเมื่อเวลา 14.00 น. ศาลฎีกาตรวจสำ นวนและปรึกษาหารือกันแล้วเห็นว่าองค์คณะทั้ง 9 มีเสียงเอกฉันท์เห็นว่า นพ.สุรพงษ์มีความผิดตามที่ถูกกล่าวหา และทำ ให้เกิดความเสี่ยงในการครอบงำ กิจการของชาวต่างชาติที่จะมีผลต่อกิจการโทรคมนาคม ซึ่งเป็นทรัพยากรของชาติขัดต่อเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายกิจการโทรคมนาคม ซึ่งการกระทำ ดังกล่าวไม่ได้นำ เสนอต่อ คณะรัฐมนตรี(ครม.) ตามขั้นตอนด้วย แม้จำ เลยที่ 1 อ้างว่าได้ส่งหนังสือหารือถึงอัยการสูงสุด แต่ก็ปกปิดความจริงที่ เลขาธิการครม.ปฏิเสธการรับเรื่องดังกล่าวเข้าที่ประชุมเนื่องจาก นายทักษิณ นายกรัฐมนตรีขณะนั้นเป็นคู่สัญญา ทำ ให้มีผลประโยชน์ทับซ้อน การกระทำของจำ เลยไม่ได้ทำ ให้รัฐได้ผลประโยชน์ เพิ่มขึ้น แต่กลับได้รับความเสี่ยงเพิ่มขึ้นจึงพิพากษาให้จำ คุกจำ เลยที่ 1 เป็นเวลา 1 ปีโดยไม่รอลงอาญา ส่วน นายไกรสร และนายไชยยันต์ องค์คณะมีมติเสียงข้างมากให้พิพากษาจำ คุกคนละ 1 ปีปรับคนละ 2 หมื่นบาท แต่เนื่องจากทั้งคู่เป็นเพียงผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่มีอำนาจในการแก้ไขหรืออนุมัติสัญญา โทษจำ คุก จึงให้รอลงอาญาไว้5 ปี
หลังจากเสร็จสิ้นการพิจารณาคดีเจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์ได้ควบคุมตัว นพ.สุรพงษ์ ขึ้นรถตู้เพื่อไปคุมขังที่เรือนจำ พิเศษกรุงเทพทันที
ผู้สื่อข่าวรายงานว่าก่อนหน้านี้นพ.สุรพงษ์ เพิ่งถูกศาลฎีกาฯพิพากษาสั่งจำ คุก 1 ปีและปรับ2 หมื่นบาท ฐานปฏิบัติหน้าที่มิชอบฯ โดยรอลงอาญา 1 ปีในคดีที่ ป.ป.ช.ยื่นฟ้องขณะดำ รงตำแหน่ง รมว.คลัง ในรัฐบาลนายสมัครสุนทรเวช ได้กระทำ การแทรกแซงเสนอชื่อ3 อดีตผู้บริหาร ธ.ทหารไทย-กรุงไทย เป็นกรรมการคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ด้วย
วานนี้(25 ส.ค.) ที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาขอ งผู้ดำ ร งตำ แหน่ งทา งการเมือง ถ.แจ้งวัฒนะ ศาลนัดฟังคำ พิพากษาในคดีหมายเลขดำ อม.66/2558 ที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ป.ป.ช.) เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง นพ.สุรพงษ์สืบวงศ์ลีหรือหมอเลี้ยบ อดีต รมว.กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) สมัยรัฐบาลนายทักษิณ ชินวัตร, นายไกรสร พรสุธีอดีตปลัดกระทรวงไอซีทีและนายไชยยันต์พึ่งเกียรติไพโรจน์ อดีตผู้อำ นวยการสำ นักกิจการอวกาศแห่งชาติและอดีตปลัดกระทรวงไอซีที ยุครัฐบาล น.ส.ยิ่งลักษณ์ชินวัตร เป็นจำ เลยที่ 1-3 ในความผิดต่อตำ แหน่งหน้าที่ราชการ ฐานเป็น เจ้าพนักงานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่ง ผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157
กรณีที่มีการอนุมัติแก้ไขสัญญาสัมปทานโครงการดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศ (ฉบับที่5) เพื่อลดสัดส่วนการถือหุ้นของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่นจำ กัด (มหาชน) (ชินคอร์ป) ที่ต้องถือในบริษัทชิน แซทเทลไลท์จำ กัด (มหาชน) จากไม่น้อยกว่า 51% เป็นไม่น้อยกว่า 40% ของจำ นวนหุ้น ทั้งหมด โดยทราบดีอยู่แล้วว่า เหตุที่บริษัทขอลดสัดส่วนการถือหุ้น เพื่อต้องการหาพันธมิตรขยายศักยภาพในการแข่งขันให้มีความเข้มแข็งและมีเงินทุนเพียงพอในการดำ เนินการโครงการดาวเทียมไอพีสตาร์โดย จำ เลยทั้งสามเดินทางมาศาล มีครอบครัวและผู้ใกล้ชิดมาให้กำ ลังใจจำ นวนมากจนท.ราชทัณฑ์หิ้วไปนอนคุกทันที
จนเมื่อเวลา 14.00 น. ศาลฎีกาตรวจสำ นวนและปรึกษาหารือกันแล้วเห็นว่าองค์คณะทั้ง 9 มีเสียงเอกฉันท์เห็นว่า นพ.สุรพงษ์มีความผิดตามที่ถูกกล่าวหา และทำ ให้เกิดความเสี่ยงในการครอบงำ กิจการของชาวต่างชาติที่จะมีผลต่อกิจการโทรคมนาคม ซึ่งเป็นทรัพยากรของชาติขัดต่อเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายกิจการโทรคมนาคม ซึ่งการกระทำ ดังกล่าวไม่ได้นำ เสนอต่อ คณะรัฐมนตรี(ครม.) ตามขั้นตอนด้วย แม้จำ เลยที่ 1 อ้างว่าได้ส่งหนังสือหารือถึงอัยการสูงสุด แต่ก็ปกปิดความจริงที่ เลขาธิการครม.ปฏิเสธการรับเรื่องดังกล่าวเข้าที่ประชุมเนื่องจาก นายทักษิณ นายกรัฐมนตรีขณะนั้นเป็นคู่สัญญา ทำ ให้มีผลประโยชน์ทับซ้อน การกระทำของจำ เลยไม่ได้ทำ ให้รัฐได้ผลประโยชน์ เพิ่มขึ้น แต่กลับได้รับความเสี่ยงเพิ่มขึ้นจึงพิพากษาให้จำ คุกจำ เลยที่ 1 เป็นเวลา 1 ปีโดยไม่รอลงอาญา ส่วน นายไกรสร และนายไชยยันต์ องค์คณะมีมติเสียงข้างมากให้พิพากษาจำ คุกคนละ 1 ปีปรับคนละ 2 หมื่นบาท แต่เนื่องจากทั้งคู่เป็นเพียงผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่มีอำนาจในการแก้ไขหรืออนุมัติสัญญา โทษจำ คุก จึงให้รอลงอาญาไว้5 ปี
หลังจากเสร็จสิ้นการพิจารณาคดีเจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์ได้ควบคุมตัว นพ.สุรพงษ์ ขึ้นรถตู้เพื่อไปคุมขังที่เรือนจำ พิเศษกรุงเทพทันที
ผู้สื่อข่าวรายงานว่าก่อนหน้านี้นพ.สุรพงษ์ เพิ่งถูกศาลฎีกาฯพิพากษาสั่งจำ คุก 1 ปีและปรับ2 หมื่นบาท ฐานปฏิบัติหน้าที่มิชอบฯ โดยรอลงอาญา 1 ปีในคดีที่ ป.ป.ช.ยื่นฟ้องขณะดำ รงตำแหน่ง รมว.คลัง ในรัฐบาลนายสมัครสุนทรเวช ได้กระทำ การแทรกแซงเสนอชื่อ3 อดีตผู้บริหาร ธ.ทหารไทย-กรุงไทย เป็นกรรมการคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ด้วย