ASTVผู้จัดการรายวัน-ดุสิตโพลเผยผลสำรวจรอบที่ 3 กรณีประชาชนกับการเลือก ส.ส.ระบบปาร์ตี้ลิสต์ “เพื่อไทย” นำลิ่ว 51.55% กวาด 64 ที่นั่ง คะแนนเสียงหลักอยู่ภาคอีสาน ทิ้ง “ประชาธิปัตย์” ที่ 34.05% กวาด 43 ที่นั่ง ให้ค่าพรรคชูวิทย์ ได้ 3 ที่นั่ง ส่วน “กิจสังคม”สอบตก
วานนี้ (19 มิ.ย.) สวนดุสิตโพล ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน ที่มีสิทธิ์เลือกตั้งทั่วประเทศ (ครั้งที่ 3) ถึงกรณี “ประชาชนกับการเลือก ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ หรือปาร์ตี้ลิสต์” โดยสำรวจผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเลือก ส.ส. กระจายพื้นที่ทั้ง 375 เขตเลือกตั้งทั่วประเทศ จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 102,994 คน ระหว่างวันที่ 4-18 มิถุนายน 2554 สรุปผลได้ดังนี้ เมื่อถามว่า ประชาชนจะเลือก ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อหรือปาร์ตี้ลิสต์ พรรคใด? พบว่า อันดับ 1 ประชาชนเลือกพรรคเพื่อไทย ในภาพรวม 51.55% จำนวน 64 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 52.05%. ภาคกลาง 46.46%, ภาคเหนือ 59.57%, ภาคอีสาน 70.06% และภาคใต้ 10.82%
อันดับที่ 2 พรรคประชาธิปัตย์ภาพรวม 34.05% จำนวน 43 ที่นั่งเมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 34.15%. ภาคกลาง 35.84%, ภาคเหนือ 29.91%, ภาคอีสาน 16.99% และภาคใต้ 75.87%
อันดับ 3 พรรคภูมิใจไทย ภาพรววม 3.43% จำนวน 4 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.34%. ภาคกลาง 3.67%, ภาคเหนือ 1.17%, ภาคอีสาน 5.73% และภาคใต้ 3.22%
อันดับ 4 พรรครักประเทศไทย ภาพรวม 2.48% จำนวน 3 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 5.30%. ภาคกลาง 2.78%, ภาคเหนือ 1.51%, ภาคอีสาน 1.46% และภาคใต้ 2.58%
อันดับที่ 5 พรรคชาติไทยพัฒนา ภาพรวม 1.60% จำนวน 2 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.38%. ภาคกลาง 2.91%, ภาคเหนือ 1.69%, ภาคอีสาน 0.73% และภาคใต้ 0.52%
อันดับ 6 พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ภาพรวม 0.98% จำนวน 1 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.80%. ภาคกลาง 0.70%, ภาคเหนือ 0.34%, ภาคอีสาน 2.14% และภาคใต้0.13%?
อันดับที่ 7 พรรครักษ์สันติ ภาพรวม 0.88% จำนวน 1 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 2.12%. ภาคกลาง 1.04%, ภาคเหนือ 0.62%, ภาคอีสาน 0.53% และภาคใต้0.36%
อันดับที่ 8 พรรคพลังชล ภาพรวม 0.54% จำนวน 1 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.02%. ภาคกลาง 1.50% และภาคใต้0.04%
อันดับ 9 พรรคมาตุภูมิ ภาพรวม 0.31% อาจจะได้ 1 ที่นั่ง โดยดูกระแสจากภาคใต้ที่เป็นหลัก
อันดับที่ 10 พรรคกิจสังคม ภาพรวม 0.10% เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.62%. ภาคกลาง 0.02%, ภาคเหนือ 0.01%, ภาคอีสาน 0.11% และภาคใต้ 0.02%
อันดับที่ 11 พรรคอื่นๆ ภาพรวม 0.29% เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.25%. ภาคกลาง 0.30%, ภาคเหนือ 0.15%, ภาคอีสาน 0.14% และภาคใต้ 0.92%.
ขณะที่ คะแนนที่เกลี่ยมาจาก “ไปแต่ไม่เลือกใคร” เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.12%. ภาคกลาง 0.15%, ภาคเหนือ 0.02%, ภาคอีสาน 0.16% และภาคใต้ 1.80%?
สำหรับสัดส่วนที่ยังไม่ตัดสินใจ 2.38% และไปแต่ไม่เลือกใคร 1.41% .
วานนี้ (19 มิ.ย.) สวนดุสิตโพล ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชน ที่มีสิทธิ์เลือกตั้งทั่วประเทศ (ครั้งที่ 3) ถึงกรณี “ประชาชนกับการเลือก ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ หรือปาร์ตี้ลิสต์” โดยสำรวจผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนเลือก ส.ส. กระจายพื้นที่ทั้ง 375 เขตเลือกตั้งทั่วประเทศ จำนวนกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 102,994 คน ระหว่างวันที่ 4-18 มิถุนายน 2554 สรุปผลได้ดังนี้ เมื่อถามว่า ประชาชนจะเลือก ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อหรือปาร์ตี้ลิสต์ พรรคใด? พบว่า อันดับ 1 ประชาชนเลือกพรรคเพื่อไทย ในภาพรวม 51.55% จำนวน 64 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 52.05%. ภาคกลาง 46.46%, ภาคเหนือ 59.57%, ภาคอีสาน 70.06% และภาคใต้ 10.82%
อันดับที่ 2 พรรคประชาธิปัตย์ภาพรวม 34.05% จำนวน 43 ที่นั่งเมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 34.15%. ภาคกลาง 35.84%, ภาคเหนือ 29.91%, ภาคอีสาน 16.99% และภาคใต้ 75.87%
อันดับ 3 พรรคภูมิใจไทย ภาพรววม 3.43% จำนวน 4 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.34%. ภาคกลาง 3.67%, ภาคเหนือ 1.17%, ภาคอีสาน 5.73% และภาคใต้ 3.22%
อันดับ 4 พรรครักประเทศไทย ภาพรวม 2.48% จำนวน 3 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 5.30%. ภาคกลาง 2.78%, ภาคเหนือ 1.51%, ภาคอีสาน 1.46% และภาคใต้ 2.58%
อันดับที่ 5 พรรคชาติไทยพัฒนา ภาพรวม 1.60% จำนวน 2 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.38%. ภาคกลาง 2.91%, ภาคเหนือ 1.69%, ภาคอีสาน 0.73% และภาคใต้ 0.52%
อันดับ 6 พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ภาพรวม 0.98% จำนวน 1 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.80%. ภาคกลาง 0.70%, ภาคเหนือ 0.34%, ภาคอีสาน 2.14% และภาคใต้0.13%?
อันดับที่ 7 พรรครักษ์สันติ ภาพรวม 0.88% จำนวน 1 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 2.12%. ภาคกลาง 1.04%, ภาคเหนือ 0.62%, ภาคอีสาน 0.53% และภาคใต้0.36%
อันดับที่ 8 พรรคพลังชล ภาพรวม 0.54% จำนวน 1 ที่นั่ง เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.02%. ภาคกลาง 1.50% และภาคใต้0.04%
อันดับ 9 พรรคมาตุภูมิ ภาพรวม 0.31% อาจจะได้ 1 ที่นั่ง โดยดูกระแสจากภาคใต้ที่เป็นหลัก
อันดับที่ 10 พรรคกิจสังคม ภาพรวม 0.10% เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.62%. ภาคกลาง 0.02%, ภาคเหนือ 0.01%, ภาคอีสาน 0.11% และภาคใต้ 0.02%
อันดับที่ 11 พรรคอื่นๆ ภาพรวม 0.29% เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.25%. ภาคกลาง 0.30%, ภาคเหนือ 0.15%, ภาคอีสาน 0.14% และภาคใต้ 0.92%.
ขณะที่ คะแนนที่เกลี่ยมาจาก “ไปแต่ไม่เลือกใคร” เมื่อแบ่งตามภาคพบว่า กรุงเทพฯ 0.12%. ภาคกลาง 0.15%, ภาคเหนือ 0.02%, ภาคอีสาน 0.16% และภาคใต้ 1.80%?
สำหรับสัดส่วนที่ยังไม่ตัดสินใจ 2.38% และไปแต่ไม่เลือกใคร 1.41% .