ASTVผู้จัดการรายวัน -สมอ.ชี้เศรษฐกิจทรุดไม่กระทบยอดขอมาตรฐานสินค้าชุมชนของบเพิ่มเท่าตัวให้ความรู้ในการขอ"มผช."หลงพบสถิติการขอผ่านแค่เกณฑ์ 40% ดึงผู้ประกบการตุ๊กตาของเล่นราชบุรีทำมอก.
นางรันภรณ์ จึงสงวนสิทธิ์ เลขาธิการสำนักงานมตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสหกรรม(สมอ) เปิดเผยว่ ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวไม่ได้ส่งผลกระทต่อการขอมาตรฐานผลิภัณฑ์ชุมชน(มผช.) ของสินค้าพื้นเมือง และสินค้าโอท็อป โดยในปีนี้มีคำขอเขามากว่า 3,000 คำขอ เป็นระดับใกล้คียงกับปีที่ผ่านๆ มา ซึ่งการขอมผช.นี้จะไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่รัฐบาลจะเป็นผู้ออกเงินให้ทั้งหมด โดยปีที่ผ่านๆ มา สมอ.รับงบประมาณในการออกมาตรฐานมผช.ประมาณ 30 กว่าล้านบาท แต่ในปี’53 นี้ขอเพิ่มเป็น 60 ล้านบาท เนื่องจากตองการนำเงินส่วนหนึ่งเป็นค่าใช้จ่ายในกรว่าจ้างผู้ที่จะมาให้คำปรึกษากับโอท็อปที่ต้องการมผช.
ทั้งนี้ที่ผานมาพบว่าการยื่นขอผช.นั้นมีผู้ผ่านเกณ์ และได้รับใบอนุญาตเพียง 40% ที่เหลือ 60% ไมผ่าน เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ในการยื่นมาตรฐาน ดังนั้นหากมีการให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการที่ต้องการยื่นขอมผช. เชื่อว่าจะช่วยทำให้ผู้ประกอบผ่านมผ.กันมากขึ้น จากขณะนี้ที่ดำนินการปี’46 มีสินค้าที่ผ่าน มช.แล้วประมาณ 37,000 ราย ซึ่งในส่วนของสมอ.นั้นไม่มีบุคลากที่เพียงพอที่จะลงไทำหน้าที่ให้คำปรึกา คงต้องว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาดำนินการ
นางรัตนภรณ์ กล่าว่า ขณะนี้สมอ.กำลังทำความเข้าใจในเรื่องมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุสาหกรรม(มอก.) ยอมรับวาเศรษฐกิจที่ไม่ดีทำให้คนซื้อของถูกกันากขึ้น โดยเฉพาะสินค้าตามตลาดนัด นอกจากี้สมอ.ยังเร่งไปเจาะป็นรายกลุ่ม เพื่อให้ผลิตภัณฑ์สินค้าของไทยมีมอก.เพิ่มขึ้น โยเมื่อเร็วๆ นี้ไปจับกลุ่มตุ๊กตาของเล่นที่ จ.ราชบุรี พบว่ามีผู้ผลิตของเล่นถึง 16 รายมีเงินสะพัดจากการผลิตของเล่นถึงปีละว่า 1,000 ล้านบาท แต่ไม่มีรายไดี้่มอก.
ทังนี้กลุ่มของผู้ประอบการประมาณ 13 รายรวมตัวที่จะให้สมอ.ไปสอวิธีการยื่นขอมอก. และการปรับปรุงวิธีการผลิตเพื่อให้ได้รับมอก.โดยขณะนี้มีผู้ทีผ่านมอก.แล้ว 11 ราย เหืออีก 2 รายกำลังแก้ไเพื่อให้ได้มอก. ซึ่งในส่วนของเล่นเด็กนั้นถือเป็นมาตรฐานบังคับ หากผู้ใดที่ผลิต รือขายสินค้าที่ไมี่มอก.จะมีโทษทางกฎหมายทั้งจำและปรับ
นางรันภรณ์ จึงสงวนสิทธิ์ เลขาธิการสำนักงานมตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสหกรรม(สมอ) เปิดเผยว่ ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวไม่ได้ส่งผลกระทต่อการขอมาตรฐานผลิภัณฑ์ชุมชน(มผช.) ของสินค้าพื้นเมือง และสินค้าโอท็อป โดยในปีนี้มีคำขอเขามากว่า 3,000 คำขอ เป็นระดับใกล้คียงกับปีที่ผ่านๆ มา ซึ่งการขอมผช.นี้จะไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่รัฐบาลจะเป็นผู้ออกเงินให้ทั้งหมด โดยปีที่ผ่านๆ มา สมอ.รับงบประมาณในการออกมาตรฐานมผช.ประมาณ 30 กว่าล้านบาท แต่ในปี’53 นี้ขอเพิ่มเป็น 60 ล้านบาท เนื่องจากตองการนำเงินส่วนหนึ่งเป็นค่าใช้จ่ายในกรว่าจ้างผู้ที่จะมาให้คำปรึกษากับโอท็อปที่ต้องการมผช.
ทั้งนี้ที่ผานมาพบว่าการยื่นขอผช.นั้นมีผู้ผ่านเกณ์ และได้รับใบอนุญาตเพียง 40% ที่เหลือ 60% ไมผ่าน เนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ในการยื่นมาตรฐาน ดังนั้นหากมีการให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการที่ต้องการยื่นขอมผช. เชื่อว่าจะช่วยทำให้ผู้ประกอบผ่านมผ.กันมากขึ้น จากขณะนี้ที่ดำนินการปี’46 มีสินค้าที่ผ่าน มช.แล้วประมาณ 37,000 ราย ซึ่งในส่วนของสมอ.นั้นไม่มีบุคลากที่เพียงพอที่จะลงไทำหน้าที่ให้คำปรึกา คงต้องว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาดำนินการ
นางรัตนภรณ์ กล่าว่า ขณะนี้สมอ.กำลังทำความเข้าใจในเรื่องมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุสาหกรรม(มอก.) ยอมรับวาเศรษฐกิจที่ไม่ดีทำให้คนซื้อของถูกกันากขึ้น โดยเฉพาะสินค้าตามตลาดนัด นอกจากี้สมอ.ยังเร่งไปเจาะป็นรายกลุ่ม เพื่อให้ผลิตภัณฑ์สินค้าของไทยมีมอก.เพิ่มขึ้น โยเมื่อเร็วๆ นี้ไปจับกลุ่มตุ๊กตาของเล่นที่ จ.ราชบุรี พบว่ามีผู้ผลิตของเล่นถึง 16 รายมีเงินสะพัดจากการผลิตของเล่นถึงปีละว่า 1,000 ล้านบาท แต่ไม่มีรายไดี้่มอก.
ทังนี้กลุ่มของผู้ประอบการประมาณ 13 รายรวมตัวที่จะให้สมอ.ไปสอวิธีการยื่นขอมอก. และการปรับปรุงวิธีการผลิตเพื่อให้ได้รับมอก.โดยขณะนี้มีผู้ทีผ่านมอก.แล้ว 11 ราย เหืออีก 2 รายกำลังแก้ไเพื่อให้ได้มอก. ซึ่งในส่วนของเล่นเด็กนั้นถือเป็นมาตรฐานบังคับ หากผู้ใดที่ผลิต รือขายสินค้าที่ไมี่มอก.จะมีโทษทางกฎหมายทั้งจำและปรับ