ศูนย์ประมวลวิเคราะห์สถานการณ์น้ำ กรมชลประทาน รายงานสถานการณ์น้ำช่วงฤดูแล้ง ปี 2557 / 2558 ล่าสุด วันนี้ (28 มี.ค.) สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลาง ปริมาตรน้ำในอ่างฯ 41,553 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 56 ปริมาตรน้ำในอ่างฯ เทียบกับปี 2557 น้อยกว่าปี 2557 จำนวน 2,221 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ จำนวน 20.19 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำระบายจำนวน 90.47 ล้าน ลูกบาศก์เมตร สามารถรับน้ำได้อีก 33,197 ล้านลูกบาศก์เมตร
สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ปริมาตรน้ำในอ่างฯ 39,236 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 56 ปริมาตรน้ำในอ่างฯ เทียบกับปี 2557 น้อยกว่าปี 2557 จำนวน 1,984 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ จำนวน 15.04 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำระบายจำนวน 79.41 ล้าน ลูกบาศก์เมตร สามารถรับน้ำได้อีก 31,134 ล้านลูกบาศก์เมตร ในช่วงฤดูแล้งตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 ถึงปัจจุบัน ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯสะสมจำนวน 5,597 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำระบายสะสมจำนวน 9,619 ล้านลูกบาศก์เมตร
ทั้งนี้ กรมชลประทาน วางแผนการใช้น้ำจากโครงการชลประทานขนาดใหญ่และขนาดกลางทั้งประเทศในช่วงฤดูแล้งปี 2557/2558 ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 ปริมาตรน้ำต้นทุนสามารถใช้การได้จำนวน 24,526 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยวางแผนจัดสรรน้ำทั้งประเทศจำนวน 13,784 ล้านลูกบาศก์เมตร ตามลำดับความสำคัญดังนี้ เพื่อการอุปโภค-บริโภค 1,981 ล้านลูกบาศก์เมตร รักษาระบบนิเวศและอื่นๆ 5,531 ล้านลูกบาศก์เมตร เกษตรกรรม 5,992 ล้านลูกบาศก์เมตร และอุตสาหกรรม 280 ล้าน ลูกบาศก์เมตร โดยจัดสรรน้ำในลุ่มเจ้าพระยา 2,900 ล้านลูกบาศก์เมตร แยกเป็นเพื่อการอุปโภค – บริโภค 1,100 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อการรักษาระบบนิเวศ และอื่นๆ 1,385 ล้านลูกบาศก์เมตร และเพื่อการเกษตร 400 ล้านลูกบาศก์เมตร
สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ปริมาตรน้ำในอ่างฯ 39,236 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 56 ปริมาตรน้ำในอ่างฯ เทียบกับปี 2557 น้อยกว่าปี 2557 จำนวน 1,984 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯ จำนวน 15.04 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำระบายจำนวน 79.41 ล้าน ลูกบาศก์เมตร สามารถรับน้ำได้อีก 31,134 ล้านลูกบาศก์เมตร ในช่วงฤดูแล้งตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 ถึงปัจจุบัน ปริมาณน้ำไหลลงอ่างฯสะสมจำนวน 5,597 ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณน้ำระบายสะสมจำนวน 9,619 ล้านลูกบาศก์เมตร
ทั้งนี้ กรมชลประทาน วางแผนการใช้น้ำจากโครงการชลประทานขนาดใหญ่และขนาดกลางทั้งประเทศในช่วงฤดูแล้งปี 2557/2558 ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2557 ปริมาตรน้ำต้นทุนสามารถใช้การได้จำนวน 24,526 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยวางแผนจัดสรรน้ำทั้งประเทศจำนวน 13,784 ล้านลูกบาศก์เมตร ตามลำดับความสำคัญดังนี้ เพื่อการอุปโภค-บริโภค 1,981 ล้านลูกบาศก์เมตร รักษาระบบนิเวศและอื่นๆ 5,531 ล้านลูกบาศก์เมตร เกษตรกรรม 5,992 ล้านลูกบาศก์เมตร และอุตสาหกรรม 280 ล้าน ลูกบาศก์เมตร โดยจัดสรรน้ำในลุ่มเจ้าพระยา 2,900 ล้านลูกบาศก์เมตร แยกเป็นเพื่อการอุปโภค – บริโภค 1,100 ล้านลูกบาศก์เมตร เพื่อการรักษาระบบนิเวศ และอื่นๆ 1,385 ล้านลูกบาศก์เมตร และเพื่อการเกษตร 400 ล้านลูกบาศก์เมตร