xs
xsm
sm
md
lg

neutrino

“จากเชียงใหม่ สู่แอนตาร์กติกา”  นักวิจัย มช. คนไทยคนแรกร่วมขั้วโลกใต้ ณ ละติจูด 90 องศาใต้  ภารกิจ ไอซ์คิวบ์อัปเกรด
“จากเชียงใหม่ สู่แอนตาร์กติกา” นักวิจัย มช. คนไทยคนแรกร่วมขั้วโลกใต้ ณ ละติจูด 90 องศาใต้ ภารกิจ ไอซ์คิวบ์อัปเกรด
อาจารย์ เรือโท ดร.ชนะ สินทรัพย์วโรดม นักวิจัย มช. คนไทยคนแรกที่ได้รับเลือกไปปฏิบัติงานในพื้นที่ ใจกลางขั้วโลก ทวีปแอนตาร์กติกา ร่วมกับกลุ่มวิจัยนิวทริโนไอซ์คิวบ์ กลุ่มวิจัยชั้นนำของโลก มีนักวิจัยรวมกว่า 350 คน จาก 14 ประเทศ 58 ส
วิทยาศาสตร์ที่ "ขั้วโลกใต้"  จากอุตุนิยมวิทยา และอุกกาบาตถึงกล้องโทรทรรศน์ neutrino
วิทยาศาสตร์ที่ "ขั้วโลกใต้" จากอุตุนิยมวิทยา และอุกกาบาตถึงกล้องโทรทรรศน์ neutrino
ตามปกติเวลาใครพูดถึง Antarctica ทุกคนจะรู้ว่ามันเป็นทวีปที่ 7 ของโลก ที่มีขนาดกว้างใหญ่ไพศาลประมาณ 1.4 ล้านกิโลเมตร จึงมากกว่าพื้นที่ของจีนและอินเดียรวมกันเสียอีก ทวีปนี้มีน้ำแข็งที่มีความหนาโดยเฉลี่ย 4 กิโลเมตรปกคลุมตลอดทั้งปี