จิตแพทย์ แนะรัฐแก้ปัญหาเด็กติดเกมเป็นวาระแห่งชาติ ระบุ เกมเข้าข่ายยาเสพติด เปรียบเสมือนเชื้อโรคทั่วไป ที่เมื่อถูกกระตุ้นก็มีโอกาสติดเชื้อ ขณะเดียวกัน เกมเนื้อหารุนแรงและทางเพศมีความรุนแรงมาก แนะผู้ปกครองฝึกวินัยบุตรหลานรู้จักควบคุมตนเอง
จากเหตุการณ์นักเรียนชายอายุ 19 ปี ใช้มีดสั้นแทงคนขับแท็กซี่เพื่อหวังชิงทรัพย์ แต่เกิดการต่อสู้ จนทำให้คนขับเสียชีวิต โดยนักเรียนชายอ้างเลียนแบบเกมคอมพิวเตอร์ และเบื่อหน่ายสภาพครอบครัว นพ.บัณฑิต ศรไพศาล ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กล่าวว่า เหตุการณ์ความรุนแรงของวัยรุ่นไทย เริ่มมีสถิติสูงมากขึ้น ทั้งนี้ เกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย โดยเฉพาะปัจจัยความมั่นคงและความเข้มแข็งของเด็ก รวมทั้งสิ่งกระตุ้นภายนอก
“ถ้าเปรียบก็เหมือนเชื้อหวัด ซึ่งอยู่ภายนอกร่างกาย คือ เกมเป็นเหมือนเชื้อโรคข้างนอกที่กระตุ้น แต่ไม่ได้เกิดกับเด็กทุกคน ถ้าร่างกายแข้มแข็ง โอกาสติดเชื้อก็น้อย เกมที่มีเนื้อหาความรุนแรงและทางเพศจะมีความรุนแรงมาก ดังนั้น ปัญหานี้เราต้องมองว่ามันมีเรื่องของปัจจัยนอกมากระตุ้น ซึ่งอาจจะมาจากการเลี้ยงดู การสะสม ความเป็นคนขี้โมโหหุนหันพลันแล่น หรือการใช้ยาเสพติด บวกกับการถูกกระตุ้นด้วยเกมเหล่านี้ เกมนี้เกี่ยวข้องกับการให้เป็นอาชญากร ให้ทำผิดกฎระเบียบ” นพ.บัณฑิต กล่าว
นพ.บัณฑิต กล่าวว่า พฤติกรรมของเด็กนักเรียนที่ก่อเหตุดังกล่าว มีความละม้ายคล้ายกับเนื้อหาเกมคอมพิวเตอร์ที่จัดว่ามีความรุนแรงสูง คือ ปล้นด้วยมีดและขับรถหนี ซึ่งตามหลักของจิตวิทยา เกมลักษณะรุนแรงก้าวร้าวนั้นจะท้าทาย เพราะคนทุกคนจะมีจิตตัวหนึ่งที่จะพิสูจน์ว่าตัวเองเป็นคนเก่ง ดังนั้น ทำอะไรที่คนอื่นทำไม่ได้ ก็จะทำให้รู้สึกว่าเรามีความสามารถเหนือคนอื่น เพราะฉะนั้นจึงมีคนหันมาสนใจ กระทำเลียนแบบสิ่งต่างๆ ที่เกิดในเกม ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดกฎระเบียบ คนทั่วไปไม่กล้าทำ ถ้าเกมไหนมีความโป๊มาก เกมนั้นจะดึงดูดคนมากกว่า
“ผมคิดว่าประเทศควรจะถือปัญหานี้เป็นวาระแห่งชาติได้แล้ว ผมถือว่าเกมเป็นยาเสพติดของเด็ก ผมไม่ได้ต่อต้านคอมพ์ หรือเน็ต ทำให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยต้นทุนที่ถูก เด็กใช้เกมเพื่อการพักผ่อนได้ แต่ไม่ควรเกินวันละครึ่งชั่วโมง หรือ 1 ชั่วโมง” นพ.บัณฑิต กล่าว
นพ.บัณฑิต มีคำแนะนำถึงผู้ปกครองด้วยว่า ควรฝึกฝนวินัยให้กับบุตรหลานรู้จักควบคุมตนเอง จัดการสิ่งแวดล้อม ไม่ควรชดเชยเวลาที่ไม่ได้ดูแลลูกด้วยการให้เงินเพียงอย่างเดียว มีการดูแลลูกด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดี พูดจาสุภาพ ไม่จับผิด แต่ใช้การชื่นชมแทน ร่วมกันกำหนดกติกาทั้งผู้ปกครองและบุตร และหากิจกรรมอื่นๆ ให้กับเด็ก สำหรับคำแนะนำทั้งหมดนี้ ยิ่งเริ่มทำตั้งแต่เด็กอายุยังน้อยจะได้ผลเร็วมากกว่าทำตอนเด็กโตแล้ว
“ถ้าเปรียบก็เหมือนเชื้อหวัดซึ่งอยู่ภายนอกร่างกาย คือ เกมเป็นเหมือนเชื้อโรคข้างนอกที่กระตุ้น แต่ไม่ได้เกิดกับเด็กทุกคน ถ้าร่างกายแข้มแข็ง โอกาสติดเชื้อก็น้อย เกมที่มีเนื้อหาความรุนแรงและทางเพศจะมีความรุนแรงมาก ดังนั้น ปัญหานี้เราต้องมองว่ามันมีเรื่องของปัจจัยนอกมากระตุ้น ซึ่งอาจจะมาจากการเลี้ยงดู การสะสม ความเป็นคนขี้โมโหหุนหันพลันแล่น หรือการใช้ยาเสพติด บวกกับการถูกกระตุ้นด้วยเกมเหล่านี้ เกมนี้เกี่ยวข้องกับการให้เป็นอาชญากร ให้ทำผิดกฎระเบียบ” นพ.บัณฑิต กล่าว
นพ.บัณฑิต กล่าวว่า พฤติกรรมของเด็กนักเรียนที่ก่อเหตุดังกล่าว มีความละม้ายคล้ายกับเนื้อหาเกมคอมพิวเตอร์ที่จัดว่ามีความรุนแรงสูง คือ ปล้นด้วยมีดและขับรถหนี ซึ่งตามหลักของจิตวิทยา เกมลักษณะรุนแรงก้าวร้าวนั้นจะท้าทาย เพราะคนทุกคนจะมีจิตตัวหนึ่งที่จะพิสูจน์ว่าตัวเองเป็นคนเก่ง ดังนั้น ทำอะไรที่คนอื่นทำไม่ได้ ก็จะทำให้รู้สึกว่าเรามีความสามารถเหนือคนอื่น เพราะฉะนั้นจึงมีคนหันมาสนใจ กระทำเลียนแบบสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดในเกม ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดกฎระเบียบ คนทั่วไปไม่กล้าทำ ถ้าเกมไหนมีความโป๊มาก เกมนั้นจะดึงดูดคนมากกว่า
“ผมคิดว่าประเทศควรจะถือปัญหานี้เป็นวาระแห่งชาติได้แล้ว ผมถือว่าเกมเป็นยาเสพติดของเด็ก ผมไม่ได้ต่อต้านคอมฯ หรือเน็ต ทำให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยต้นทุนที่ถูก เด็กใช้เกมเพื่อการพักผ่อนได้ แต่ไม่ควรเกินวันละครึ่งชั่วโมง หรือ 1 ชั่วโมง” นพ.บัณฑิต กล่าว
นพ.บัณฑิต มีคำแนะนำถึงผู้ปกครองด้วยว่า ควรฝึกฝนวินัยให้กับบุตรหลานรู้จักควบคุมตนเอง จัดการสิ่งแวดล้อม ไม่ควรชดเชยเวลาที่ไม่ได้ดูแลลูกด้วยการให้เงินเพียงอย่างเดียว มีการดูแลลูกด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดี พูดจาสุภาพ ไม่จับผิด แต่ใช้การชื่นชมแทน ร่วมกันกำหนดกติกาทั้งผู้ปกครองและบุตร และหากิจกรรมอื่น ๆ ให้กับเด็ก สำหรับคำแนะนำทั้งหมดนี้ ยิ่งเริ่มทำตั้งแต่เด็กอายุยังน้อยจะได้ผลเร็วมากกว่าทำตอนเด็กโตแล้ว
จากเหตุการณ์นักเรียนชายอายุ 19 ปี ใช้มีดสั้นแทงคนขับแท็กซี่เพื่อหวังชิงทรัพย์ แต่เกิดการต่อสู้ จนทำให้คนขับเสียชีวิต โดยนักเรียนชายอ้างเลียนแบบเกมคอมพิวเตอร์ และเบื่อหน่ายสภาพครอบครัว นพ.บัณฑิต ศรไพศาล ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กล่าวว่า เหตุการณ์ความรุนแรงของวัยรุ่นไทย เริ่มมีสถิติสูงมากขึ้น ทั้งนี้ เกิดจากสาเหตุหลายปัจจัย โดยเฉพาะปัจจัยความมั่นคงและความเข้มแข็งของเด็ก รวมทั้งสิ่งกระตุ้นภายนอก
“ถ้าเปรียบก็เหมือนเชื้อหวัด ซึ่งอยู่ภายนอกร่างกาย คือ เกมเป็นเหมือนเชื้อโรคข้างนอกที่กระตุ้น แต่ไม่ได้เกิดกับเด็กทุกคน ถ้าร่างกายแข้มแข็ง โอกาสติดเชื้อก็น้อย เกมที่มีเนื้อหาความรุนแรงและทางเพศจะมีความรุนแรงมาก ดังนั้น ปัญหานี้เราต้องมองว่ามันมีเรื่องของปัจจัยนอกมากระตุ้น ซึ่งอาจจะมาจากการเลี้ยงดู การสะสม ความเป็นคนขี้โมโหหุนหันพลันแล่น หรือการใช้ยาเสพติด บวกกับการถูกกระตุ้นด้วยเกมเหล่านี้ เกมนี้เกี่ยวข้องกับการให้เป็นอาชญากร ให้ทำผิดกฎระเบียบ” นพ.บัณฑิต กล่าว
นพ.บัณฑิต กล่าวว่า พฤติกรรมของเด็กนักเรียนที่ก่อเหตุดังกล่าว มีความละม้ายคล้ายกับเนื้อหาเกมคอมพิวเตอร์ที่จัดว่ามีความรุนแรงสูง คือ ปล้นด้วยมีดและขับรถหนี ซึ่งตามหลักของจิตวิทยา เกมลักษณะรุนแรงก้าวร้าวนั้นจะท้าทาย เพราะคนทุกคนจะมีจิตตัวหนึ่งที่จะพิสูจน์ว่าตัวเองเป็นคนเก่ง ดังนั้น ทำอะไรที่คนอื่นทำไม่ได้ ก็จะทำให้รู้สึกว่าเรามีความสามารถเหนือคนอื่น เพราะฉะนั้นจึงมีคนหันมาสนใจ กระทำเลียนแบบสิ่งต่างๆ ที่เกิดในเกม ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดกฎระเบียบ คนทั่วไปไม่กล้าทำ ถ้าเกมไหนมีความโป๊มาก เกมนั้นจะดึงดูดคนมากกว่า
“ผมคิดว่าประเทศควรจะถือปัญหานี้เป็นวาระแห่งชาติได้แล้ว ผมถือว่าเกมเป็นยาเสพติดของเด็ก ผมไม่ได้ต่อต้านคอมพ์ หรือเน็ต ทำให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยต้นทุนที่ถูก เด็กใช้เกมเพื่อการพักผ่อนได้ แต่ไม่ควรเกินวันละครึ่งชั่วโมง หรือ 1 ชั่วโมง” นพ.บัณฑิต กล่าว
นพ.บัณฑิต มีคำแนะนำถึงผู้ปกครองด้วยว่า ควรฝึกฝนวินัยให้กับบุตรหลานรู้จักควบคุมตนเอง จัดการสิ่งแวดล้อม ไม่ควรชดเชยเวลาที่ไม่ได้ดูแลลูกด้วยการให้เงินเพียงอย่างเดียว มีการดูแลลูกด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดี พูดจาสุภาพ ไม่จับผิด แต่ใช้การชื่นชมแทน ร่วมกันกำหนดกติกาทั้งผู้ปกครองและบุตร และหากิจกรรมอื่นๆ ให้กับเด็ก สำหรับคำแนะนำทั้งหมดนี้ ยิ่งเริ่มทำตั้งแต่เด็กอายุยังน้อยจะได้ผลเร็วมากกว่าทำตอนเด็กโตแล้ว
“ถ้าเปรียบก็เหมือนเชื้อหวัดซึ่งอยู่ภายนอกร่างกาย คือ เกมเป็นเหมือนเชื้อโรคข้างนอกที่กระตุ้น แต่ไม่ได้เกิดกับเด็กทุกคน ถ้าร่างกายแข้มแข็ง โอกาสติดเชื้อก็น้อย เกมที่มีเนื้อหาความรุนแรงและทางเพศจะมีความรุนแรงมาก ดังนั้น ปัญหานี้เราต้องมองว่ามันมีเรื่องของปัจจัยนอกมากระตุ้น ซึ่งอาจจะมาจากการเลี้ยงดู การสะสม ความเป็นคนขี้โมโหหุนหันพลันแล่น หรือการใช้ยาเสพติด บวกกับการถูกกระตุ้นด้วยเกมเหล่านี้ เกมนี้เกี่ยวข้องกับการให้เป็นอาชญากร ให้ทำผิดกฎระเบียบ” นพ.บัณฑิต กล่าว
นพ.บัณฑิต กล่าวว่า พฤติกรรมของเด็กนักเรียนที่ก่อเหตุดังกล่าว มีความละม้ายคล้ายกับเนื้อหาเกมคอมพิวเตอร์ที่จัดว่ามีความรุนแรงสูง คือ ปล้นด้วยมีดและขับรถหนี ซึ่งตามหลักของจิตวิทยา เกมลักษณะรุนแรงก้าวร้าวนั้นจะท้าทาย เพราะคนทุกคนจะมีจิตตัวหนึ่งที่จะพิสูจน์ว่าตัวเองเป็นคนเก่ง ดังนั้น ทำอะไรที่คนอื่นทำไม่ได้ ก็จะทำให้รู้สึกว่าเรามีความสามารถเหนือคนอื่น เพราะฉะนั้นจึงมีคนหันมาสนใจ กระทำเลียนแบบสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดในเกม ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดกฎระเบียบ คนทั่วไปไม่กล้าทำ ถ้าเกมไหนมีความโป๊มาก เกมนั้นจะดึงดูดคนมากกว่า
“ผมคิดว่าประเทศควรจะถือปัญหานี้เป็นวาระแห่งชาติได้แล้ว ผมถือว่าเกมเป็นยาเสพติดของเด็ก ผมไม่ได้ต่อต้านคอมฯ หรือเน็ต ทำให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยต้นทุนที่ถูก เด็กใช้เกมเพื่อการพักผ่อนได้ แต่ไม่ควรเกินวันละครึ่งชั่วโมง หรือ 1 ชั่วโมง” นพ.บัณฑิต กล่าว
นพ.บัณฑิต มีคำแนะนำถึงผู้ปกครองด้วยว่า ควรฝึกฝนวินัยให้กับบุตรหลานรู้จักควบคุมตนเอง จัดการสิ่งแวดล้อม ไม่ควรชดเชยเวลาที่ไม่ได้ดูแลลูกด้วยการให้เงินเพียงอย่างเดียว มีการดูแลลูกด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดี พูดจาสุภาพ ไม่จับผิด แต่ใช้การชื่นชมแทน ร่วมกันกำหนดกติกาทั้งผู้ปกครองและบุตร และหากิจกรรมอื่น ๆ ให้กับเด็ก สำหรับคำแนะนำทั้งหมดนี้ ยิ่งเริ่มทำตั้งแต่เด็กอายุยังน้อยจะได้ผลเร็วมากกว่าทำตอนเด็กโตแล้ว