คุณรู้หรือไม่ว่า ในบรรดาอาหารที่รับประทานไปในแต่ละวันนั้น อาจจะมี ‘ภัยเงียบ’ ปกคลุมซ่อนอยู่ แต่คุณอาจจะจงใจละเลยหรือไม่สนใจเพียงเพราะว่า กำลังมีความสุขกับการกินโดยที่ไม่สนใจว่า ‘ภัยเงียบ’ นี้ กำลังคืบคลานเข้ามาทีละนิดๆ
‘โซเดียม’ ถือว่าเป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่ง ที่เป็นอีกปัจจัยที่ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงและสมบูรณ์เพิ่มเติมยิ่งขึ้นไป แต่หากรับประทาน ‘โซเดียม’ มากเกินไป ประโยชน์ที่ได้รับนั้น อาจจะกลายเป็นภัยให้กับตัวเองได้อย่างไม่รู้ตัว ก็เป็นได้
โซเดียมกับร่างกาย
โซเดียม คือแร่ธาตุชนิดหนึ่งที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย ช่วยรักษาสมดุลของน้ำในร่างกายและความดันโลหิต โดยทั่วไปร่างกายต้องการโซเดียมประมาณ 1500 มิลลิกรัมต่อวัน แต่ในชีวิตประจำวันของคนในปัจจุบัน อาจจะบริโภคโซเดียมมากกว่านั้น โดยปริมาณโซเดียมสูงสุดที่บริโภคแล้วไม่เป็นอันตราย คือ ไม่เกิน 2000 มิลลิกรัมต่อวัน หรือประมาณ 1 ช้อนชา
ซึ่งหากได้รับปริมาณโซเดียมมากเกินความจำเป็นแล้ว อาจจะทำให้ก่อให้เกิดโรคต่างๆ มากมาย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหัวใจ หรือ โรคหลอดเลือด เป็นต้น
อาหารฟาสต์ฟู้ต กับ โซเดียม
อาหารจานด่วน หรือ ฟาสต์ฟู้ต นั้น เป็นโจทย์ใหญ่กับร่างกายของคนเราอย่างที่รู้กันดี ซึ่งอาหารเหล่านี้ก็มี ‘โซเดียม’ เป็นปัจจัยหลักในอาหารเหล่านี้ โดยถ้าเรานำปริมาตรของอาหารประมาณ 100 กรัม มาแสดงผล ผลที่ได้ของอาหารต่างๆ มีดังนี้
แฮมเบอร์เกอร์ - 414 มิลลิกรัม
พิซซ่า - 598 มิลลิกรัม
เฟรนซ์ฟรายด์ - 210 มิลลิกรัม
แซนด์วิช - 551 มิลลิกรัม
ฮอทด็อก - 1090 มิลลิกรัม
ไก่ทอด - 77 มิลลิกรัม
นักเก็ตไก่ - 557 มิลลิกรัม
ขนมขบเคี้ยว - 705 มิลลิกรัม
6 วิธี หลีกเลี่ยง ‘โซเดียม’
1. หลีกเลี่ยง ผงชูรสและผงปรุงรส : ถึงแม้ว่าจะมีปริมาณโซเดียมน้อยกว่าเกลือ แต่ผงชูรสไม่มีรสชาติ จึงทำให้คนปรุงอาหารใส่ผงชูรสแบบเต็มที่ เพราะมีความเชื่อว่าจะทำให้อาหารอร่อยขึ้น ฉะนั้น ถ้าหลีกเลี่ยงได้ควรทำ
2. ลดความจัดจ้านของรสชาติอาหาร : เพราะรสชาติอาหารที่ยิ่งมีรสจัดเพิ่มขึ้นเท่าใด ผงชูรสจึงเป็นปัจจัยที่ทำให้อาหารครบรสยิ่งขึ้น ดังนั้น ควรลดปริมาณของความรสจัดลงได้ก็คงดี
3. รับประทานอาหารสด : เนื่องจากสามารถช่วยลดปริมาณของโซเดียมโดยไม่จำเป็นจากสารกันบูดได้
4. หลีกเลี่ยงการกินน้ำซุป : เพราะน้ำซุปมีปริมาณโซเดียมสูง อันเนื่องมาจากเครื่องปรุง หรือ ซุปก้อน
5. สังเกตปริมาณโซเดียมจากฉลากโภชนาการ : เพราะการรู้จักสังเกตฉลาก นอกจากจะทำให้รู้ว่าได้รับพลังงานจากอาหารมากน้อยเพียงใดแล้ว ยังบอกถึงปริมาณโซเดียมที่ได้รับอีกด้วย ซึ่งอาหารมื้อหลัก ไม่ควรเกิน 600 มิลลิกรัมต่อวัน และอาหารว่าง ไม่ควรเกิน 200 มิลลิกรัมต่อวัน
6. ใช้เกลือทดแทน : แต่ใช้ให้พอดี เพราะเกลือก็ยังมีปริมาณของโซเดียมอยู่ ดังนั้น ควรใช้ใส่แต่พอประมาณ
‘โซเดียม’ ถือว่าเป็นแร่ธาตุชนิดหนึ่ง ที่เป็นอีกปัจจัยที่ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงและสมบูรณ์เพิ่มเติมยิ่งขึ้นไป แต่หากรับประทาน ‘โซเดียม’ มากเกินไป ประโยชน์ที่ได้รับนั้น อาจจะกลายเป็นภัยให้กับตัวเองได้อย่างไม่รู้ตัว ก็เป็นได้
โซเดียมกับร่างกาย
โซเดียม คือแร่ธาตุชนิดหนึ่งที่มีความจำเป็นต่อร่างกาย ช่วยรักษาสมดุลของน้ำในร่างกายและความดันโลหิต โดยทั่วไปร่างกายต้องการโซเดียมประมาณ 1500 มิลลิกรัมต่อวัน แต่ในชีวิตประจำวันของคนในปัจจุบัน อาจจะบริโภคโซเดียมมากกว่านั้น โดยปริมาณโซเดียมสูงสุดที่บริโภคแล้วไม่เป็นอันตราย คือ ไม่เกิน 2000 มิลลิกรัมต่อวัน หรือประมาณ 1 ช้อนชา
ซึ่งหากได้รับปริมาณโซเดียมมากเกินความจำเป็นแล้ว อาจจะทำให้ก่อให้เกิดโรคต่างๆ มากมาย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหัวใจ หรือ โรคหลอดเลือด เป็นต้น
อาหารฟาสต์ฟู้ต กับ โซเดียม
อาหารจานด่วน หรือ ฟาสต์ฟู้ต นั้น เป็นโจทย์ใหญ่กับร่างกายของคนเราอย่างที่รู้กันดี ซึ่งอาหารเหล่านี้ก็มี ‘โซเดียม’ เป็นปัจจัยหลักในอาหารเหล่านี้ โดยถ้าเรานำปริมาตรของอาหารประมาณ 100 กรัม มาแสดงผล ผลที่ได้ของอาหารต่างๆ มีดังนี้
แฮมเบอร์เกอร์ - 414 มิลลิกรัม
พิซซ่า - 598 มิลลิกรัม
เฟรนซ์ฟรายด์ - 210 มิลลิกรัม
แซนด์วิช - 551 มิลลิกรัม
ฮอทด็อก - 1090 มิลลิกรัม
ไก่ทอด - 77 มิลลิกรัม
นักเก็ตไก่ - 557 มิลลิกรัม
ขนมขบเคี้ยว - 705 มิลลิกรัม
6 วิธี หลีกเลี่ยง ‘โซเดียม’
1. หลีกเลี่ยง ผงชูรสและผงปรุงรส : ถึงแม้ว่าจะมีปริมาณโซเดียมน้อยกว่าเกลือ แต่ผงชูรสไม่มีรสชาติ จึงทำให้คนปรุงอาหารใส่ผงชูรสแบบเต็มที่ เพราะมีความเชื่อว่าจะทำให้อาหารอร่อยขึ้น ฉะนั้น ถ้าหลีกเลี่ยงได้ควรทำ
2. ลดความจัดจ้านของรสชาติอาหาร : เพราะรสชาติอาหารที่ยิ่งมีรสจัดเพิ่มขึ้นเท่าใด ผงชูรสจึงเป็นปัจจัยที่ทำให้อาหารครบรสยิ่งขึ้น ดังนั้น ควรลดปริมาณของความรสจัดลงได้ก็คงดี
3. รับประทานอาหารสด : เนื่องจากสามารถช่วยลดปริมาณของโซเดียมโดยไม่จำเป็นจากสารกันบูดได้
4. หลีกเลี่ยงการกินน้ำซุป : เพราะน้ำซุปมีปริมาณโซเดียมสูง อันเนื่องมาจากเครื่องปรุง หรือ ซุปก้อน
5. สังเกตปริมาณโซเดียมจากฉลากโภชนาการ : เพราะการรู้จักสังเกตฉลาก นอกจากจะทำให้รู้ว่าได้รับพลังงานจากอาหารมากน้อยเพียงใดแล้ว ยังบอกถึงปริมาณโซเดียมที่ได้รับอีกด้วย ซึ่งอาหารมื้อหลัก ไม่ควรเกิน 600 มิลลิกรัมต่อวัน และอาหารว่าง ไม่ควรเกิน 200 มิลลิกรัมต่อวัน
6. ใช้เกลือทดแทน : แต่ใช้ให้พอดี เพราะเกลือก็ยังมีปริมาณของโซเดียมอยู่ ดังนั้น ควรใช้ใส่แต่พอประมาณ