ASTVผู้จัดการรายวัน - ตลาดโฆษณา 11 เดือนแรกทะลุ 105,755 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 1.46% ส่วนพฤศจิกายนเดือนเดียวเฉียดหมื่นล้านบาท
รายงานข่าวจาก บริษัท นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช ประเทศไทย จำกัด ระบุว่า มูลค่าตลาดงบโฆษณาโดยรวมในเดือนพฤศจิกายน ปี 2556 เพียงเดือนเดียวมีมูลค่ากว่า 9,985 ล้านบาท เทียบกับปี 2555 ที่มีมูลค่า 9,943 ล้านบาท เพิ่ม 0.42% โดยสื่อหลักอย่างทีวีมีมูลค่า 5,946 ล้านาท เพิ่ม 1.94% จากเดิมที่มี 5,833 ล้านบาท สื่อวิทยุมีมูลค่า 570 ล้านบาท เพิ่ม 1.06% จากเดิมมี 564 ล้านบาท สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 1,475 ล้านบาท เพิ่ม 4.02% จากเดิมมี 1,418 ล้านบาท แต่สื่อนิตยสารตกลง 19.44% เหลือ 431 ล้านบาท จากเดิมมี 535 ล้านบาท
ส่วนสื่อรองอื่นคือ สื่อโรงหนังมูลค่า 654 ล้านบาท ตกลง 4.80% จากเดิมที่มี 687 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 356 ล้านบาท ตกลง 5.57% จากเดิมที่มี 377 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มูลค่า 309 ล้านบาท เพิ่ม 9.96% จากเดิมที่มี 281 ล้านบาท สื่ออินสโตร์มูลค่า 165 ล้านบาท ตกลง 16.24% จากเดิมที่มี 197 ล้านบาท สื่ออินเทอร์เน็ตมูลค่า 78 ล้านบาท เพิ่ม 56% จากเดิมที่มี 50 ล้านบาท
หากมองช่วง 11 เดือนแรกปี 2577 เทียบปี 2556 พบว่า ช่วง 11 เดือนแรกปี 56 มีมูลค่ารวม 105,755 ล้านบาท เพิ่ม 1.46% จากเดิมที่มี 104,250 ล้านบาท แบ่งเป็นสื่อมีมูลค่า 64,028 ล้านบาท เพิ่ม 2.40% จากเดิมมี 62,525 ล้านบาท สื่อวิทยุมูลค่า 5,772 ล้านบาท ตลง 0.52% จากเดิมที่มี 5,802 ล้านบาท สื่อหนังสื่อพิมพ์มูลค่า 13,874 ล้านบาท เพิ่ม 0.63% จากเดิมที่มี 13,787 ล้านบาท สื่อนิตยสารมูลค่า 5,037 ล้านบาท ตกลง 1.18% จากเดิมที่มี 5,097 ล้านบาท
ส่วนสื่อรองอย่างสื่อโรงหนังมูลค่า 6,847 ล้านบาท ตกลง 3.21% จากเดิมมี 7,074 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 3,800 ล้านบาท ตกลง 9.33% จากเดิมที่มี 4,191 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มีมูลค่า 3,203 ล้านบาท เพิ่ม 18.85% จากเดิมมี 2,695 ล้านบาท สื่ออินสโตน์มูลค่า 2,404 ล้านบาท ตกลง 5.91% จากเดิมที่มี 2,555 ล้านบาท สื่ออินเทอร์เน็ตมูลค่า 810 ล้านบาท เพิ่ม 54.29% จากเดิมที่มี 525 ล้านบาท
สำหรับ 5 บริษัทที่ใช้งบโฆษณาสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน 2556 คือ 1. ยูนิลีเวอร์ ใช้งบ 600 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 510 ล้านบาท 2.โตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทยใช้งบ 277 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 186 ล้านบาท 3.พีแอนด์จีประเทศไทย ใช้งบ 193 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 164 ล้านบาท 4.โทเทิลแอคเซสคอมมูนิเคชั่น ใช้งบ 153 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 129 ล้านบาท 5.ฮอนด้าออโตโมบิล ใช้งบ 143 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 57 ล้านบาท
ขณะที่ 5 อันดับแรกบริษัทที่ใช้งบโฆษณาสูงสุดตั้งแต่ 11 เดือนแรกปี 56 เทียบ 55 คือ 1.ยูนิลีเวอร์ใช้งบ 6,227 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 6,160 ล้านบาท 2.โตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย ใช้งบ 2,326 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,946 ล้านบาท 3.ไบเออร์สดร๊อฟประเทศไทย ใช้งบ 1,854 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,724 ล้านบาท 4.พีแอนด์จีประเทศไทยใช้่งบ 1,781 ล้านบาท จากเดิมที่ใช้ 2,095 ล้านบาท 5.โคคา-โคลาประเทศไทย ใช้งบ 1,551 ล้านบาท
ด้านแบรนด์สินค้า 5 แบรนด์แรกที่ใช้งบโฆษณาเดือนพฤศจิกายนเดือนเดียวเทียบปี 2555 คือ 1.โตโยต้าพาสเซนเจอร์ ใช้งบ 114 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่มี 97 ล้านบาท 2.แบงก์กสิกรไทยใช้งบ 102 ล้านบาท จากเดิมใช้ 41 ล้านบาท 3.เครื่องดื่มโค้กใช้งบ 90 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 82 ล้านบาท 4.ไลน์ซอฟท์แวร์ ใช้งบ 79 ล้านบาท จากเดิมที่ไม่ได้ใช้ 5.โตโยต้าปิกอัพใช้งบ 72 ล้านบาท เพิ่มจาที่ใช้ 29 ล้านบาท
ส่วน 5 แบรนด์สินค้าใช้งบสูงสุด 11 เดือนแรกปี 56 เทียบ ปี 55 คือ 1.เครื่องดื่มโค้กใช้งบ 1,093 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 808 ล้านบาท 2.โตโยต้ารถเก๋ง ใช้งบ 1,054 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 969 ล้านบาท 3.โตโยต้าปิกอัพใช้งบ 699 ล้านบาทเพิ่มจากเดิมที่ใช้ 364 ล้านบาท 4.อีซูซุปิกอัพใช้งบ 649 ล้านบาท ตกลงจากเดิมที่ใช้ 815 ล้านบาท 5.พีทีทีกรุ๊ปใช้งบ 646 ล้านบาท ตกลงจากเดิมที่ใช้ 725 ล้านบาท
รายงานข่าวจาก บริษัท นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช ประเทศไทย จำกัด ระบุว่า มูลค่าตลาดงบโฆษณาโดยรวมในเดือนพฤศจิกายน ปี 2556 เพียงเดือนเดียวมีมูลค่ากว่า 9,985 ล้านบาท เทียบกับปี 2555 ที่มีมูลค่า 9,943 ล้านบาท เพิ่ม 0.42% โดยสื่อหลักอย่างทีวีมีมูลค่า 5,946 ล้านาท เพิ่ม 1.94% จากเดิมที่มี 5,833 ล้านบาท สื่อวิทยุมีมูลค่า 570 ล้านบาท เพิ่ม 1.06% จากเดิมมี 564 ล้านบาท สื่อหนังสือพิมพ์มูลค่า 1,475 ล้านบาท เพิ่ม 4.02% จากเดิมมี 1,418 ล้านบาท แต่สื่อนิตยสารตกลง 19.44% เหลือ 431 ล้านบาท จากเดิมมี 535 ล้านบาท
ส่วนสื่อรองอื่นคือ สื่อโรงหนังมูลค่า 654 ล้านบาท ตกลง 4.80% จากเดิมที่มี 687 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 356 ล้านบาท ตกลง 5.57% จากเดิมที่มี 377 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มูลค่า 309 ล้านบาท เพิ่ม 9.96% จากเดิมที่มี 281 ล้านบาท สื่ออินสโตร์มูลค่า 165 ล้านบาท ตกลง 16.24% จากเดิมที่มี 197 ล้านบาท สื่ออินเทอร์เน็ตมูลค่า 78 ล้านบาท เพิ่ม 56% จากเดิมที่มี 50 ล้านบาท
หากมองช่วง 11 เดือนแรกปี 2577 เทียบปี 2556 พบว่า ช่วง 11 เดือนแรกปี 56 มีมูลค่ารวม 105,755 ล้านบาท เพิ่ม 1.46% จากเดิมที่มี 104,250 ล้านบาท แบ่งเป็นสื่อมีมูลค่า 64,028 ล้านบาท เพิ่ม 2.40% จากเดิมมี 62,525 ล้านบาท สื่อวิทยุมูลค่า 5,772 ล้านบาท ตลง 0.52% จากเดิมที่มี 5,802 ล้านบาท สื่อหนังสื่อพิมพ์มูลค่า 13,874 ล้านบาท เพิ่ม 0.63% จากเดิมที่มี 13,787 ล้านบาท สื่อนิตยสารมูลค่า 5,037 ล้านบาท ตกลง 1.18% จากเดิมที่มี 5,097 ล้านบาท
ส่วนสื่อรองอย่างสื่อโรงหนังมูลค่า 6,847 ล้านบาท ตกลง 3.21% จากเดิมมี 7,074 ล้านบาท สื่อกลางแจ้งมูลค่า 3,800 ล้านบาท ตกลง 9.33% จากเดิมที่มี 4,191 ล้านบาท สื่อเคลื่อนที่มีมูลค่า 3,203 ล้านบาท เพิ่ม 18.85% จากเดิมมี 2,695 ล้านบาท สื่ออินสโตน์มูลค่า 2,404 ล้านบาท ตกลง 5.91% จากเดิมที่มี 2,555 ล้านบาท สื่ออินเทอร์เน็ตมูลค่า 810 ล้านบาท เพิ่ม 54.29% จากเดิมที่มี 525 ล้านบาท
สำหรับ 5 บริษัทที่ใช้งบโฆษณาสูงสุดในเดือนพฤศจิกายน 2556 คือ 1. ยูนิลีเวอร์ ใช้งบ 600 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 510 ล้านบาท 2.โตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทยใช้งบ 277 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 186 ล้านบาท 3.พีแอนด์จีประเทศไทย ใช้งบ 193 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 164 ล้านบาท 4.โทเทิลแอคเซสคอมมูนิเคชั่น ใช้งบ 153 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 129 ล้านบาท 5.ฮอนด้าออโตโมบิล ใช้งบ 143 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 57 ล้านบาท
ขณะที่ 5 อันดับแรกบริษัทที่ใช้งบโฆษณาสูงสุดตั้งแต่ 11 เดือนแรกปี 56 เทียบ 55 คือ 1.ยูนิลีเวอร์ใช้งบ 6,227 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 6,160 ล้านบาท 2.โตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย ใช้งบ 2,326 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,946 ล้านบาท 3.ไบเออร์สดร๊อฟประเทศไทย ใช้งบ 1,854 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 1,724 ล้านบาท 4.พีแอนด์จีประเทศไทยใช้่งบ 1,781 ล้านบาท จากเดิมที่ใช้ 2,095 ล้านบาท 5.โคคา-โคลาประเทศไทย ใช้งบ 1,551 ล้านบาท
ด้านแบรนด์สินค้า 5 แบรนด์แรกที่ใช้งบโฆษณาเดือนพฤศจิกายนเดือนเดียวเทียบปี 2555 คือ 1.โตโยต้าพาสเซนเจอร์ ใช้งบ 114 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่มี 97 ล้านบาท 2.แบงก์กสิกรไทยใช้งบ 102 ล้านบาท จากเดิมใช้ 41 ล้านบาท 3.เครื่องดื่มโค้กใช้งบ 90 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 82 ล้านบาท 4.ไลน์ซอฟท์แวร์ ใช้งบ 79 ล้านบาท จากเดิมที่ไม่ได้ใช้ 5.โตโยต้าปิกอัพใช้งบ 72 ล้านบาท เพิ่มจาที่ใช้ 29 ล้านบาท
ส่วน 5 แบรนด์สินค้าใช้งบสูงสุด 11 เดือนแรกปี 56 เทียบ ปี 55 คือ 1.เครื่องดื่มโค้กใช้งบ 1,093 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 808 ล้านบาท 2.โตโยต้ารถเก๋ง ใช้งบ 1,054 ล้านบาท เพิ่มจากเดิมที่ใช้ 969 ล้านบาท 3.โตโยต้าปิกอัพใช้งบ 699 ล้านบาทเพิ่มจากเดิมที่ใช้ 364 ล้านบาท 4.อีซูซุปิกอัพใช้งบ 649 ล้านบาท ตกลงจากเดิมที่ใช้ 815 ล้านบาท 5.พีทีทีกรุ๊ปใช้งบ 646 ล้านบาท ตกลงจากเดิมที่ใช้ 725 ล้านบาท