สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็นประชาชน จำนวน 1,047 คน จากทั่วประเทศ เรื่อง "การชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตของคนไทย" สืบเนื่องจาก โควิด-19 ส่งผลให้รูปแบบการใช้จ่ายเงินของคนไทยเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน คนไทยหันมาใช้บริการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตมากขึ้น ทั้งในการทำธุรกรรมทางการเงิน ชำระค่าสินค้าและบริการต่างๆ ซึ่งจากการสำรวจพบว่า
1. ประชาชนเคยชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น โอนเงิน ซื้อของออนไลน์ ชำระค่าสินค้าและบริการ ฯลฯ หรือไม่
อันดับ 1 ร้อยละ 87.11 เคย
อันดับ 2 ร้อยละ 12.89 ไม่เคย
2. สาเหตุที่ไม่เคยใช้บริการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต
อันดับ 1 ร้อยละ 71.85 ระบุ ใช้งานไม่สะดวก สะดวกชำระเงินสดมากกว่า
อันดับ 2 ร้อยละ 57.04 ระบุ ทำไม่เป็น กลัวโอนผิด
อันดับ 3 ร้อยละ 35.56 ระบุ กลัวโดนหลอก
อันดับ 4 ร้อยละ 31.85 ระบุ ไม่มีแอปพลิเคชัน
อันดับ 5 ร้อยละ 11.85 ระบุ ไม่มีสมาร์ทโฟน/ไม่มีอินเทอร์เน็ต
3. เหตุผลที่เลือกใช้บริการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต
อันดับ 1 ร้อยละ 93.51 ระบุ สะดวก สบาย ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก ใช้บริการที่ใดก็ได้
อันดับ 2 ร้อยละ 81.52 ระบุ ลดการใช้เงินสด ป้องกันการสัมผัสและเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19
อันดับ 3 ร้อยละ 48.73 ระบุ มีการสรุปยอด สรุปบัญชีชัดเจน
อันดับ 4 ร้อยละ 44.44 ระบุ ต้องปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง
อันดับ 5 ร้อยละ 40.92 ระบุ ไม่มีค่าธรรมเนียม
4. ประชาชนใช้บริการใดบ้างในการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต
อันดับ 1 ร้อยละ 78.88 ระบุ ซื้อของออนไลน์
อันดับ 2 ร้อยละ 76.46 ระบุ ชำระค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าอินเทอร์เน็ต
อันดับ 3 ร้อยละ 73.16 ระบุ ทำธุรกรรมทางการเงิน เช่น โอนเงิน ตัดบัญชี
อันดับ 4 ร้อยละ 66.01 ระบุ สั่งอาหารออนไลน์
อันดับ 5 ร้อยละ 42.13 ระบุ ผ่อนชำระค่าบ้าน ค่ารถ
5. เปรียบเทียบก่อนและเมื่อมีโควิด-19 ประชาชนชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตมากน้อยเพียงใด
ร้อยละ 80.81 ระบุ เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 17.32 ระบุ เท่าเดิม
ร้อยละ 1.87 ระบุ ลดลง
6. ปัญหาที่พบจากการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต
อันดับ 1 ร้อยละ 64.28 ระบุ ระบบล่ม
อันดับ 2 ร้อยละ 47.98 ระบุ ระบบแต่ละธนาคารไม่เหมือนกัน ใช้งานยาก ขั้นตอนเยอะ
อันดับ 3 ร้อยละ 43.82 ระบุ ใช้เงินเกินกว่าแผนที่กำหนดไว้
อันดับ 4 ร้อยละ 27.40 ระบุ โดนแฮกข้อมูล นำข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต
อันดับ 5 ร้อยละ 22.43 ระบุ ชำระเงินผิด โอนเงินผิด
7. โดยภาพรวม ประชาชนเชื่อมั่นในความปลอดภัยในการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตมากน้อยเพียงใด
ร้อยละ 60.65 ระบุ ค่อนข้างเชื่อมั่น
ร้อยละ 17.29 ระบุ ไม่ค่อยเชื่อมั่น
ร้อยละ 15.47 ระบุ เชื่อมั่นมาก
ร้อยละ 6.59 ระบุ ไม่เชื่อมั่นเลย
1. ประชาชนเคยชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น โอนเงิน ซื้อของออนไลน์ ชำระค่าสินค้าและบริการ ฯลฯ หรือไม่
อันดับ 1 ร้อยละ 87.11 เคย
อันดับ 2 ร้อยละ 12.89 ไม่เคย
2. สาเหตุที่ไม่เคยใช้บริการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต
อันดับ 1 ร้อยละ 71.85 ระบุ ใช้งานไม่สะดวก สะดวกชำระเงินสดมากกว่า
อันดับ 2 ร้อยละ 57.04 ระบุ ทำไม่เป็น กลัวโอนผิด
อันดับ 3 ร้อยละ 35.56 ระบุ กลัวโดนหลอก
อันดับ 4 ร้อยละ 31.85 ระบุ ไม่มีแอปพลิเคชัน
อันดับ 5 ร้อยละ 11.85 ระบุ ไม่มีสมาร์ทโฟน/ไม่มีอินเทอร์เน็ต
3. เหตุผลที่เลือกใช้บริการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต
อันดับ 1 ร้อยละ 93.51 ระบุ สะดวก สบาย ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก ใช้บริการที่ใดก็ได้
อันดับ 2 ร้อยละ 81.52 ระบุ ลดการใช้เงินสด ป้องกันการสัมผัสและเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19
อันดับ 3 ร้อยละ 48.73 ระบุ มีการสรุปยอด สรุปบัญชีชัดเจน
อันดับ 4 ร้อยละ 44.44 ระบุ ต้องปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลง
อันดับ 5 ร้อยละ 40.92 ระบุ ไม่มีค่าธรรมเนียม
4. ประชาชนใช้บริการใดบ้างในการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต
อันดับ 1 ร้อยละ 78.88 ระบุ ซื้อของออนไลน์
อันดับ 2 ร้อยละ 76.46 ระบุ ชำระค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าอินเทอร์เน็ต
อันดับ 3 ร้อยละ 73.16 ระบุ ทำธุรกรรมทางการเงิน เช่น โอนเงิน ตัดบัญชี
อันดับ 4 ร้อยละ 66.01 ระบุ สั่งอาหารออนไลน์
อันดับ 5 ร้อยละ 42.13 ระบุ ผ่อนชำระค่าบ้าน ค่ารถ
5. เปรียบเทียบก่อนและเมื่อมีโควิด-19 ประชาชนชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตมากน้อยเพียงใด
ร้อยละ 80.81 ระบุ เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 17.32 ระบุ เท่าเดิม
ร้อยละ 1.87 ระบุ ลดลง
6. ปัญหาที่พบจากการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ต
อันดับ 1 ร้อยละ 64.28 ระบุ ระบบล่ม
อันดับ 2 ร้อยละ 47.98 ระบุ ระบบแต่ละธนาคารไม่เหมือนกัน ใช้งานยาก ขั้นตอนเยอะ
อันดับ 3 ร้อยละ 43.82 ระบุ ใช้เงินเกินกว่าแผนที่กำหนดไว้
อันดับ 4 ร้อยละ 27.40 ระบุ โดนแฮกข้อมูล นำข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต
อันดับ 5 ร้อยละ 22.43 ระบุ ชำระเงินผิด โอนเงินผิด
7. โดยภาพรวม ประชาชนเชื่อมั่นในความปลอดภัยในการชำระเงินผ่านอินเทอร์เน็ตมากน้อยเพียงใด
ร้อยละ 60.65 ระบุ ค่อนข้างเชื่อมั่น
ร้อยละ 17.29 ระบุ ไม่ค่อยเชื่อมั่น
ร้อยละ 15.47 ระบุ เชื่อมั่นมาก
ร้อยละ 6.59 ระบุ ไม่เชื่อมั่นเลย