xs
xsm
sm
md
lg

วรรณกรรมไทย

การปรากฏตัวของ “ใบไม้ที่หายไป” ในภาษาญี่ปุ่น
การปรากฏตัวของ “ใบไม้ที่หายไป” ในภาษาญี่ปุ่น
ด้วยภาวะ “ตะวันตกดิน” ของธุรกิจสำนักพิมพ์ การที่หนังสือภาษาไทยสักเล่มผ่านการแปลและตีพิมพ์ออกจำหน่ายในญี่ปุ่นจึงเป็นเรื่องน่ายินดี ที่น่ายินดียิ่งขึ้นคือ ผลงานนี้ถือเป็นตัวแทนวรรณกรรมไทยและประวัติศาสตร์ช่วงหนึ่งได้ด้วย หนังสือที่ว่านี้คือ “ใบไม้ที่หายไป” ของจิระนันท์ พิตรปรีชา ที่เพิ่งมีฉบับภาษาญี่ปุ่นออกมาเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2561
สภาฯ เตรียมจัดประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า ปี 61
นายสรศักดิ์ เพียรเวช เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดเผยว่า สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเตรียมจัดประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี 2651 ประเภทเรื่องสั้น และบทกวี เพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสนับสนุ
เล่าให้คนญี่ปุ่นฟังเรื่อง “นิยายวาย” กับ กระแสวรรณกรรมใหม่ในเมืองไทย
เล่าให้คนญี่ปุ่นฟังเรื่อง “นิยายวาย” กับ กระแสวรรณกรรมใหม่ในเมืองไทย
การเรียนภาคฤดูใบไม้ผลิของญี่ปุ่นกำลังจะปิดลง เมื่อสอนวิชาวรรณกรรมไทยคาบสุดท้าย ผมก็ได้รับคำถามจากนักศึกษาเกี่ยวกับแวดวงวรรณกรรมในเมืองไทย ซึ่งก็ต้องตั้งสติเล็กน้อยก่อนจะตอบเพราะบางเรื่องถือว่าใหม่จริงๆ คำถามที่ว่าคือ “ตอนนี้วรรณกรรมไทยแบบไหนเป็นที่นิยม” และ “มีวรรณกรรมญี่ปุ่นแบบไหนที่ได้รับความนิยมในเมืองไทยบ้าง” ฟังดูเหมือนง่าย แต่เอาเข้าจริงก็ตอบยากพอสมควร
วธ.จัดกิจกรรมวันสุนทรภู่ปี 60 ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ในหลวงรัชกาลที่ 9
วันนี้ (26 มิ.ย.) กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม จัดกิจกรรมเนื่องในวันสุนทรภู่ ประจำปี 2560 เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทมหาภูมิพลอดุลยเดช และส่งเสริมการใช้ภาษาไทยอย่างสร้างสรรค์ โดยมีการจัดงานที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดย
ญี่ปุ่นกับการนำเข้าและส่งออกงานแปล
ญี่ปุ่นกับการนำเข้าและส่งออกงานแปล
ระยะนี้ข่าวคราวของ ฮะรุกิ มุระกะมิ (Haruki Murakami) ซึ่งเป็นนักเขียนชาวญี่ปุ่นผู้โด่งดังระดับโลก ค่อยๆ แพร่ออกมาว่ากำลังจะมีผลงานเล่มใหม่ปรากฏสู่สายตานักอ่าน โดยมีชื่อเรื่องว่า “คิชิดันโช โงะโระชิ” (#39438;#22763;#22243;#38263;#27578;#12375;; Kishidancho Goroshi) ซึ่งแปลว่า “สังหารหัวหน้ากองอัศวิน” สื่อมวลชนทั้งในและต่างประเทศพากันจับตาดูและนำเสนอข่าวเป็นระยะๆ ผมในฐานะคนที่อยู่ท่ามกลางบรรยากาศนี้ด้วยก็อดคิดไม่ได้ว่า แหม...ทำไมไม่มีนักเขียนไทยที่คนไทยและคนทั่วโลกสนใจอย่างนี้บ้างนะ?
เมื่อคนญี่ปุ่นรู้เรื่องไทย มากกว่าคนไทยรู้เรื่องญี่ปุ่น
เมื่อคนญี่ปุ่นรู้เรื่องไทย มากกว่าคนไทยรู้เรื่องญี่ปุ่น
นับตั้งแต่คอลัมน์ “ญี่ปุ่นมุมลึก” ได้รับการริเริ่มขึ้นด้วยสายตามองการณ์ไกลของบรรณาธิการวริษฐ์ ลิ้มทองกุลว่าด้วยองค์ความรู้เกี่ยวกับญี่ปุ่น พอสิ้นเดือนมิถุนายนนี้ คอลัมน์ก็จะครบ 1 ปีพอดี และเนื่องจากผมยังไม่เคยแนะนำตัวเป็นกิจจะลักษณะ ครั้งนี้ถือเป็นโอกาสดีที่จะครบรอบปี จึงตั้งใจจะบอกเล่าให้นักอ่านชาวไทยได้ทราบถึงที่มาของตัวเองและสิ่งที่มีตัวเองมีส่วนเข้าไปเกี่ยวข้องในบริบทของญี่ปุ่น โดยเฉพาะเรื่องไทยศึกษา
[ข้อมูลที่ถูกลบ]