xs
xsm
sm
md
lg

โรคข้อ

สปสช.เพิ่มสิทธิรักษาให้ผู้ประกันตน เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมด้วย“พลาสมาคุณภาพสูง”ฟรี 2 ครั้ง/ปี
.สำนักงานประกันสังคมเพิ่มสิทธิประโยชน์ให้ผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม สามารถเข้ารับการรักษาด้วยพลาสมาคุณภาพสูง (Plasma Rich Growth Factor (PRGF)) ซึ่งเป็นนวัตกรรมสมัยใหม่ที่เป็นทางเลือกในการรักษา ซึ่งจะต้องได้รับก
รพ.ธรรมศาสตร์ฯ เตรียมเปิด “ศูนย์ข้อเทียมโรงพยาบาลธรรมศาสตร์” แบบครบวงจร พร้อมนำเทคโนโลยีแขนหุ่นยนต์มาช่วยผ่าตัด ต้นปี 2565
รพ.ธรรมศาสตร์ฯ เตรียมเปิด “ศูนย์ข้อเทียมโรงพยาบาลธรรมศาสตร์” แบบครบวงจร พร้อมนำเทคโนโลยีแขนหุ่นยนต์มาช่วยผ่าตัด ต้นปี 2565
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เดินหน้าตอกย้ำวิสัยทัศน์ “โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ 4.0 มุ่งสู่องค์กรแห่งอนาคตเพื่อประชาชน” ประกาศเตรียมความพร้อมเปิด “ศูนย์ข้อเทียมโรงพยาบาลธรรมศาสตร์” และนำเทคโนโลยีแขนหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดเปลี
'หมอโอภาส'ยันผู้ป่วยโรคข้อและรูมาติสซั่มฉีดวัคซีนป้องโควิดได้
ผศ.นพ.โอภาส พุทธเจริญ หัวหน้าศูนย์โรคอุบัติใหม่ทางคลินิก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โพสต์คลิปวิดีโอเชิญชวนผู้ป่วยโรคข้อและรูมาติสซั่มฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ผ่านเฟซบุ๊ก Opass Putcharoen ระบุว่า ถูกถามมาเยอะเหมือนกัน สำหรับผู้ที่เป
แนวทางการรักษา และการฟื้นฟูโรคข้อเข้าเสื่อม
แนวทางการรักษา และการฟื้นฟูโรคข้อเข้าเสื่อม
ในระยะต้นและระยะกลาง อาจรักษาด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น ท่ายืน เดินหรือนั่ง, พยายามลดน้ำหนักในคนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน, ออกกำลังกายชนิดที่ไม่มีแรงกระแทก เช่น ว่ายน้ำ ปั่นจักรยาน การเดินในน้ำ หรือรักษาด้วยการใช้ยา ส่วนในระยะรุนแรงอาจมีการผ่าตัดร่วมด้วย โดยขึ้นอยู่กับการวินิจฉัยของแพทย์
เจ้าฟ้าจุฬาภรณฯ พระราชทานหน่วยแพทย์ดูแล ปชช.ที่กราบสักการะพระบรมศพ
วันนี้ (8 ก.พ.) ที่เต็นท์หน่วยแพทย์พระราชทาน 906 ซึ่งตั้งอยู่ภายในบริเวณท้องสนามฝั่งทิศเหนือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ ทรงห่วงใยในพสก
นักวิจัยมข.เจ๋งใช้แสงซินโครตรอนแยกสเต็มเซลล์กระดูกอ่อนสำเร็จ
นักวิจัยมข.เจ๋งใช้แสงซินโครตรอนแยกสเต็มเซลล์กระดูกอ่อนสำเร็จ
ศูนย์ข่าวนครราชสีมา-ผู้ป่วยโรคไขข้อเสื่อมคนไทยเฮ! นักวิจัย มข. เจ๋ง แยกสเต็มเซลล์กระดูกอ่อนด้วยแสงซินโครตรอนประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรกของไทย ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาลงได้กว่าครึ่ง เผยใช้ระบบลำเลียงแสงอินฟราเรดที่ห้องปฏิบัติการแสงสยามโคราชหนึ่งเดียวของไทยใหญ่ที่สุดในอาเซียน ไม่ต้องไปไกลถึงต่างประเทศ ระบุเป็นเทคนิคใหม่ในการจำแนกเซลล์ต้นกำเนิด แทนการใช้สารติดตามหรือฉีดสีที่ยุ่งยาก ใช้เวลานาน ค่าใช้จ่ายสูงต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศราคาแพง