xs
xsm
sm
md
lg

ทีดีอารืไอ

หาบเร่แผงลอย: วิถีชีวิตที่รัฐมองข้าม โดย - ชาคร เลิศนิทัศน์ และ สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)
หาบเร่แผงลอย: วิถีชีวิตที่รัฐมองข้าม โดย - ชาคร เลิศนิทัศน์ และ สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)
หาบเร่ แผงลอย อาชีพของคนเล็กคนน้อย ในเมืองใหญ่ เราจะเป็นเมืองศิวิไลย์โดยมองข้ามปัญหาของคนเหล่านี้ได้หรือ! การห้ามขายเลย นอกจากจะมีผลต่อชีวิตผู้ค้าโดยตรงแล้ว ยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่ง ของความอ่อนแอในเศรษฐกิจรากหญ้า ดร.สมชัย จิตสุชน ผู้อำนวยการวิจัย ด้านการพัฒนาอย่างทั่วถึง และ นายชาคร เลิศนิทัศน์ นักวิจัย สถุาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย(ทีดีอาร์ไอ) ร่วมกันสะท้อนมุมมองและแนวทางแก้ไข ผ่านบทความเผยแพร่ดังต่อไปนี้
คสช.กับการ“ช่วยเหลือ”ผู้ประกอบการทีวีดิจิทัลและผู้ประกอบการ 4G โดย ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)
คสช.กับการ“ช่วยเหลือ”ผู้ประกอบการทีวีดิจิทัลและผู้ประกอบการ 4G โดย ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ)
เกิดความเคลื่อนไหวอย่างขันแข็งใน กสทช. และคสช. เมื่อศาลปกครองกลางมีคำตัดสินในคดี ไทยทีวีฟ้อง กสทช. โดยให้ กสทช. คืนหนังสือค้ำประกันการประมูลแก่ไทยทีวี ซึ่งจะมีผลให้ไทยทีวีไม่ต้องจ่ายค่าประมูลให้ กสทช. อีกต่อไป โดยให้เหตุผลว่า กสทช. ดำเนินการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบทีวีดิจิทัลอย่างล่าช้า ไม่เป็นไปตามแผนงานและประชาสัมพันธ์การเปลี่ยนผ่านไม่ทั่วถึง ทำให้ไทยทีวีได้รับความเสียหาย
หลายปีกับการมีงานทำที่ถดถอยและการว่างงานที่เพิ่มขึ้น ตลาดแรงงานปีหน้าจะเป็นเช่นไร? (ตอนที่ 1)โดย ดร. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือ ทีดีอาร์ไอ
หลายปีกับการมีงานทำที่ถดถอยและการว่างงานที่เพิ่มขึ้น ตลาดแรงงานปีหน้าจะเป็นเช่นไร? (ตอนที่ 1)โดย ดร. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือ ทีดีอาร์ไอ
โดย ดร. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือ ทีดีอาร์ไอ นับตั้งแต่รัฐบาลภายใต้การนำของพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ขึ้นบริหารประเทศตั้งแต่กลางปี 2557 จนถึง ปลายปี 2560 โดยมุ่งมั่นที่จะบริหารประเทศให้เกิด ความมั่นคง ความมั่งคั่งและ ความยั่งยืน ความพยายามในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศหลุดพ้นจากหุบเหวแห่งความตกต่ำและฟื้นตัวอย่างรวดเร็วในช่วงเวลาอันสั้น ความพยายามที่จะเร่งอุปสงค์ของตลาดแรงงานให้ซึบซับแรงงานใหม่แต่ก็ยังไม่มากพอที่จะทำให้การมีงานทำสูงดังเช่นก่อนหน้าในปี 2556 และปี 2557 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของรัฐบาล คสช.