สศค. เผย เดือน มี.ค. สตาร์อัพลงทะเบียนผ่านเว็ปของสำนักงานนวตกรรมแห่งชาติ 713 ราย มีผู้ได้รับสิทธิในการยกเว้นภาษีกำไรสุทธิของเอ็สเอ็มอีหรือสตาร์อัพเกิดใหม่ในระยะเวลา 5 ปีจากสรรพากรแล้ว 76 ราย ส่วนผู้ประกอบการที่ได้อนุมัติให้ร่วมทุนกับสถาบันการเงินของรัฐมี 38 ราย รวมเป็นวงเงินเงินทั้งสิ้น 211 ล้านบาท และมีกลุ่มนักลงทุนที่ลงเข้าบนเว็ปไซต์สตาร์อัพไทยแลนดอีก 69 ราย
ส่วนจำนวน Startup ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ผ่านการร่วมลงทุนกับธนาคารออมสิน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ได้อนุมัติการร่วมลงทุนใน Startup แล้ว 35 ราย วงเงินรวม 768 ล้านบาท โดยมี Startup 10 ราย ที่ได้มีการร่วมลงทุนแล้ว คิดเป็นเงินร่วมลงทุน 211 ล้านบาท นอกจากนี้ จำนวนกลุ่มนักลงทุนในประเทศไทยที่ลงทะเบียนกับ Web Portal ปัจจุบันมีการเข้าลงทะเบียนบนเว็บไซต์ http://startupthailand.org แล้ว 69 ราย
นายพรชัย ฐีระเวช ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการเงิน ในฐานะโฆษกสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยรายงานความคืบหน้าการดำเนินการของคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจเริ่มต้นแห่งชาติ (National Startup Committee: NSC) ซึ่งมีปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธานคณะกรรมการฯ ประจำเดือนมีนาคม 25 ว่า มีจำนวนวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) ในประเทศไทยที่ลงทะเบียนกับ http://startupthailand.org ของสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ จำนวน 713 ราย
ขณะที่มีจำนวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมรายใหม่ (SMEs/New Startup) ที่ขอรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 637) พ.ศ. 2560 เพื่อยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับกำไรสุทธิของ SMEs/New Startup เป็นระยะเวลา 5 รอบระยะเวลาบัญชี มี SMEs/New Startup เข้ามาจดทะเบียนและยื่นขอรับการรับรองกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) แล้วจำนวน 148 ราย ได้รับการรับรองจาก สวทช. แล้วจำนวน 84 ราย และได้ขอใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีกับกรมสรรพากรแล้วจำนวน 76 รายส่วนจำนวน Startup ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ผ่านการร่วมลงทุนกับธนาคารออมสิน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ได้อนุมัติการร่วมลงทุนใน Startup แล้ว 35 ราย วงเงินรวม 768 ล้านบาท โดยมี Startup 10 ราย ที่ได้มีการร่วมลงทุนแล้ว คิดเป็นเงินร่วมลงทุน 211 ล้านบาท นอกจากนี้ จำนวนกลุ่มนักลงทุนในประเทศไทยที่ลงทะเบียนกับ Web Portal ปัจจุบันมีการเข้าลงทะเบียนบนเว็บไซต์ http://startupthailand.org แล้ว 69 ราย
อย่างไรก็ตาม กิจการเงินร่วมลงทุน (Venture Capital: VC) และทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน (Private Equity Trust: PE Trust) ที่ขอรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 636) พ.ศ. 2560 เพื่อขอรับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้จากเงินปันผล และรายได้จากการโอนหุ้นของบริษัทเป้าหมาย เป็นระยะเวลา 10 รอบระยะเวลาบัญชี มีผู้จดแจ้งการเป็น VC และ PE Trust กับสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แล้ว จำนวนทั้งสิ้น 30 ราย
ส่วนจำนวน Startup ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ผ่านการร่วมลงทุนกับธนาคารออมสิน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ได้อนุมัติการร่วมลงทุนใน Startup แล้ว 35 ราย วงเงินรวม 768 ล้านบาท โดยมี Startup 10 ราย ที่ได้มีการร่วมลงทุนแล้ว คิดเป็นเงินร่วมลงทุน 211 ล้านบาท นอกจากนี้ จำนวนกลุ่มนักลงทุนในประเทศไทยที่ลงทะเบียนกับ Web Portal ปัจจุบันมีการเข้าลงทะเบียนบนเว็บไซต์ http://startupthailand.org แล้ว 69 ราย
นายพรชัย ฐีระเวช ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการเงิน ในฐานะโฆษกสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยรายงานความคืบหน้าการดำเนินการของคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจเริ่มต้นแห่งชาติ (National Startup Committee: NSC) ซึ่งมีปลัดกระทรวงการคลังเป็นประธานคณะกรรมการฯ ประจำเดือนมีนาคม 25 ว่า มีจำนวนวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) ในประเทศไทยที่ลงทะเบียนกับ http://startupthailand.org ของสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ จำนวน 713 ราย
ขณะที่มีจำนวนผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมรายใหม่ (SMEs/New Startup) ที่ขอรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 637) พ.ศ. 2560 เพื่อยกเว้นภาษีเงินได้สำหรับกำไรสุทธิของ SMEs/New Startup เป็นระยะเวลา 5 รอบระยะเวลาบัญชี มี SMEs/New Startup เข้ามาจดทะเบียนและยื่นขอรับการรับรองกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) แล้วจำนวน 148 ราย ได้รับการรับรองจาก สวทช. แล้วจำนวน 84 ราย และได้ขอใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีกับกรมสรรพากรแล้วจำนวน 76 รายส่วนจำนวน Startup ที่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ผ่านการร่วมลงทุนกับธนาคารออมสิน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ได้อนุมัติการร่วมลงทุนใน Startup แล้ว 35 ราย วงเงินรวม 768 ล้านบาท โดยมี Startup 10 ราย ที่ได้มีการร่วมลงทุนแล้ว คิดเป็นเงินร่วมลงทุน 211 ล้านบาท นอกจากนี้ จำนวนกลุ่มนักลงทุนในประเทศไทยที่ลงทะเบียนกับ Web Portal ปัจจุบันมีการเข้าลงทะเบียนบนเว็บไซต์ http://startupthailand.org แล้ว 69 ราย
อย่างไรก็ตาม กิจการเงินร่วมลงทุน (Venture Capital: VC) และทรัสต์เพื่อกิจการเงินร่วมลงทุน (Private Equity Trust: PE Trust) ที่ขอรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 636) พ.ศ. 2560 เพื่อขอรับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้จากเงินปันผล และรายได้จากการโอนหุ้นของบริษัทเป้าหมาย เป็นระยะเวลา 10 รอบระยะเวลาบัญชี มีผู้จดแจ้งการเป็น VC และ PE Trust กับสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แล้ว จำนวนทั้งสิ้น 30 ราย