โดยวางแผนการเงิน 5 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินฐานะการเงิน
รู้จักตนเอง
รู้พฤติกรรมการใช้จ่าย
รู้ที่มาของรายได้
รู้ว่ามีสินทรัพย์ และหนี้สิน
รู้ฐานะการเงินที่แท้จริง
แอปพลิเคชั่น ทำบัญชีรายจ่าย
วิธีการบันทึก รายรับ รายจ่ายด้วยเสียง
สร้างและใช้งานบัญชีเงินสด
สร้างและใช้งานบัญชีเงินฝาก
สร้างและใช้งานบัญชีบัตรเครดิต
สร้างบัญชีสกุลเงินต่างประเทศ
การสำรองและกู้คืนข้อมูล
นำข้อมูลออกเป็น EXCEL
ประเมินความมั่งคั่งทางการเงิน
สินทรัพย์ - หนี้สิน = ความมั่งคั่งสุทธิ
ขั้นตอนที่ 2 ตั้งเป้าหมายทางการเงิน
เป้าหมายที่ดี ตามหลัก SMART
Specific - ชัดเจน
Measurable - วัดผลได้
Achierable – ทำสำเร็จได้
Realistic – อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง
Time Bound – มีกรอบเวลาที่ชัดเจน
ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผน... เพื่อไปสู่เป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 4 ปฏิบัติตามแผน อย่างเคร่งครัด
สารพันวิธี สร้างวินัยทางการเงิน
บันทึกรายรับ รายจ่าย สม่ำเสมอ
กันเงินออมก่อน เหลือค่อยใช้จ่าย
สะสร้างหนี้สินระยะสั้น ตัวบันทอนการออม
ถือเงินสดแค่พอใช้จ่าย งดใช้บัตรเครดิต ถ้าไม่มีเงินในบัญชี
ห้ามใจตัวเอง หยุดคิดก่อน SCAN
กำหนดวัน Shopping Online เลิกติดตามเพจขายของ
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบและปรับปรุงแผน
การวางแผนการเงิน
หลักการทำงานและสะสมเงิน
การวางแผนการเงินในวัยเกษียณ
รู้หรือไม่ ต้องมีเงินเท่าไหร่ในวัยเกษียณ
รู้หรือไม่ ต้องใช้เงินเดือนละเท่าไหร่หลังเกษียณ
รู้หรือไม่ ต้องทำอย่างไร
หลังเกษียณต้องใช้เงินเดือนละเท่าไหร่
เกษียณพอเพียง เดือนละ 10,000 120,000X20 2,400,000
เกษียณสุขสบาย เดือนละ 20,000 240,000x20 4,800,000
เกษียณร่ำรวย เดือนละ 50,000 600,000x20 12,000,000
อุปสรรค ของการเก็บสะสมเงิน
ปัจจัยภายนอก
ภาวะเศรษฐกิจและค่าครองชีพ
สังคมรอบข้าง
สิ่งเร้า และสิ่งยั่วยุ
กับดักทางการเงิน
ปัจจัยภายใน
รายได้น้อยเกินไป
ขาดความรู้ทางการเงิน
ขาดแผนและเป้าหมาย
ขาดวินัย
ทัศนคติที่ผิดพลาด
แนวทางการแก้ปัญหาไม่มีเงินเก็บ
ต้องปรับทัศนคติ
เอาเงินที่ไหนมาออม
ต้องลดรายจ่าย / เพิ่มรายได้
เราไม่สามารถลดรายจ่ายไปได้ตลอดชีวิต
หากงานประจำที่ทำ ไม่มีเงินเหลือเก็บ
ควรมองหาลู่ทางในการเพิ่มรายได้
ตั้งเป้าหมายทางการเงิน
เก็บเงินไว้ใช้ ยามไม่มีรายได้ประจำ เป็นเป้าหมายของคนที่เป็นมนุษย์เงินเดือน
ต้องมีวินัย
หลังจากมีเป้าหมายทางการเงินแล้วต้อง
เดินหน้าสู่เป้าหมายอย่างมีวินัย
เพราะคำว่า “วินัย” จะทำให ้เราสามารถเก็บเงินได้อย่างสม่ำเสมอ และใช้เงินอย่างเป็นระบบ
ต้องลงมือทำทันที
วันที่ช้าที่สุด สำหรับการเริ่มเก็บเงิน คือ วันพรุ่งนี้
หลักการออมเงินขั้นสูง ของธนาคารแห่งประเทศไทย
สมการ การออม
รายได้ – เงินออม = ค่าใช้จ่าย
จำนวนเงินออม คือ ออมอย่างน้อย 1ใน 4 ของรายได้ต่อเดือน
ต้องมีเงินออมฉุกเฉิน 3-6 เท่าของเงินค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในแต่ละเดือน
การบริหารจัดการหนี้ เป็นหนี้เพราะจน หรือ จนเพราะเป็นหนี้
หนี้ดี สร้างรายได้
หนี้สร้างอนาคต
หนี้เพื่อความมั่นคงระยะยาว
หนี้เพื่อการประกอบอาชีพ
หนี้พึงระวังไม่สร้างรายได้
หนี้ที่เกิดจากการกู้เงิน เพื่อการบริโภคที่ไม่สมเหตุสมผล เช่นเปลี่ยนโทรศัพท์/ของใช้บ่อยๆ
แต่งรถ ใช้ของแบรนด์เนม ตามแฟชั่น การพนัน
คิดสักนิด... ก่อนคิดจะก่อหนี้
มั่นใจว่าสามารถผ่อนชำระได้ตลอด
ประเภทสินเชื่อตรงกับวัตถุประสงค์ในการใช้เงิน
เปรียเทียบอัตราดอกเบี้ย เงือนไขการกู้จากหลายแหล่งหรือยัง
ภาระหนี้ต่อเดือนรวมกันไม่เกิน 1 ใน 3 ของรายได้
5 ขั้นตอนการบริหารจัดการหนี้
ปรับพฤติกรรม
หาวิธีการลดหนี้
สำรวจภาระหนี้
หาเหตุผลการเป็นหนี้
ยอมรับความจริง
1.ยอมรับความจริง หาเงิน 100 บาท คุณใช้เท่าไหร่
กินดีอยู่ดี ใช้ 80 ออม 20
มั่งมีศรีสุข ใช้ 50 ออม 25 ลงทุน 25
พอมี พอกิน ใช้ 90 ออม 10
หาเช้ากินค่ำ ใช้ 100
ล้มละลาย ใช้ 120 หนี้ 20
สัญญาณเตือนที่เราไม่เคยสังเกต
เริ่มซื้อของใช้ในบ้านด้วยเงินเชื่อ/เงินผ่อน
จ่ายบัตรต่างๆ ไม่เต็มจ านวน
จ่ายค่าน้ า ค่าไฟ ค่าเช่า ฯลฯ ไม่ตรงเวลา
เงินออกปุ๊บ จ่ายหมดปั๊บ
เฝ้ารอคอยวันเงินเดือนออก
ไม่มีเงินเก็บออม
เครียดเรื่องหนี้สินตลอดเวลา
ถูกทวงหนี้บ่อย ๆ
หมดหนทาง หันไปพึ่งหนี้นอกระบบ
ขอสินเชื่อไม่ผ่าน ไม่มีที่หยิบยืม
รูดซื้อของไม่ได้ เพราะเต็มวงเงิน
หยิบโน่น โปะนี่ ไม่รู้ว่ายอดหนี้จริงเท่าไร
หาสาเหตุการเป็นหนี้ ความจำเป็น เหตุไม่คาดฝัน
รูปแบบการดำเนินชีวิต อยากได้ฟุ่มเฟือย ตามกระแสนิยม ไม่เก็บออม ไม่ลำดับความสำคัญของใช้จ่าย
หวังรวยทางลัด การพนัน ตกเป็นเหยื่อกับดักทางการเงิน