กทม.แนะชุมชนใกล้ลำคลอง เตรียมขนของหนีน้ำสูงอย่างน้อย 1 เมตร ยืนยันยังไม่แจ้งอพยพใดๆ เปิดเว็บไซต์ สายด่วน ให้ประชาชนตรวจสอบข่าวสาร เปิดรายชื่อ 78 ศูนย์อพยพกทม.ฝั่งตะวันออก
สรุปข้อมูลเพื่อการทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) ในกรณีการรับมือน้ำท่วม พร้อมเปิด 78 ศูนย์อพยพฝั่งตะวันออก
ข้อสรุปหลักภาพรวม กทม.ทั้งหมด
- มีการเปิดประตูน้ำตามคลองต่างๆ ทุกคลองเพื่อให้น้ำผ่าน ดังนั้น จะเกิดภาวะระดับน้ำสูงขึ้นจนอาจล้นตลิ่งจนถึงระดับครึ่งแข้งได้
- ในกรณีฝนตกซึ่งจะมีมากในช่วงเวลานี้ อันเนื่องมาจากพายุต่างๆ ที่มาแล้ว และกำลังจะมาอีก ทาง กทม.จะทำการปิดประตูน้ำเพื่อไม่ให้น้ำเข้าท่วมพื้นที่ ดังนั้น จะเกิดกรณีน้ำขังจากฝนตกบ้าง ซึ่งบางครั้งอาจถึงหัวเข่า และเมื่อฝนหยุดตกแล้ว จะทำการเปิดประตูระบายน้ำดังเดิม
- พื้นที่ชุมชนที่อยู่ใกล้ลำคลองต่างๆ ทุกลำคลองจะพบกับปัญหาน้ำล้นตลิ่ง จนถึงน้ำท่วมขัง ดังนั้น แนะนำว่า ควรจะขนของหนีน้ำ (ควรจะมีระดับสูงตั้งแต่ 1.00 เมตรขึ้นไป เพราะเรายังไม่อาจคาดได้ในเรื่องของมวลน้ำก้อนใหญ่ที่จะตามเข้ามาใน 2-3 วันข้างหน้า ดังนั้น กทม. แจ้งเตือนมา ระดับที่ปลอดภัย คือ 0.60-0.80 เมตร)
ขณะนี้ขอยืนยันว่า จะยังไม่มีการแจ้งเตือนให้มีการอพยพใดๆ ทั้งสิ้น แต่ยังคงไว้ให้มีการเตรียมการในเรื่องของการขนของหนีน้ำเท่านั้น
ข้อมูลข่าวสารต่างๆ สามารถตรวจสอบได้ทางหน้า เว็บไซต์ดังนี้
1.www.ndwc.go.th
2.Facebook page ที่ศปภ.ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัย
3.Twitter page ที่ GCC_111, GCC-192, Nailek507
- กรณีที่เกิดข่าวจากการพูดแบบปากต่อปาก ขอให้ตรวจสอบมาที่ 1111 ต่อ 5, 1784 หรือ 191
หลักเกณฑ์และแผนการอพยพ ทางกรุงเทพมหานครได้จัดเตรียมแผนในภารกิจอพยพในครั้งนี้โดยได้กำหนดขั้นแรก คือ
1.การจัดทำแผนที่ประสบภัยน้ำท่วม ทั้ง ทุ่งตะวันตกชุมชนริมน้ำและแนวตะวันออก โดย 1.1 สำรวจชุมชนและแผนที่ที่ได้รับผลกระทบ 1.2 สำรวจจำนวนครัวเรือนและลงทะเบียนผู้รับผลกระทบ 1.3 กำหนดพื้นที่พักพิงใกล้เคียง
2.การเคลื่อนย้ายผู้รับผลกระทบ 2.1 รถขนย้าย 2.2 เรือขนย้าย 2.3 บุคลากรเจ้าหน้าที่เทศกิจ และ อภปร.2.4 การประสานเส้นทางการควบคุมการจราจร 2.5 การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คนพิการ และหน่วยแพทย์กู้ชีพ 2.6 การเตือนภัย
3.ศูนย์พักพิงซึ่งจะได้จัดเตรียมสถานที่พักและเครื่องนอน รวมทั้งปัจจัยสี่ และอุปกรณ์ดำรงชีพจัดบุคลากรสนับสนุนให้ข้อมูลข่าวสาร ดูแลสัตว์เลี้ยงที่ผู้อพยพมาออกมาด้วยและการจัดนักจิตวิทยา เข้าไปฟื้นฟูสภาพจิตใจซึ่งจะต้องกระทำการอย่างทันที
4.ศูนย์ประสานงานกลางที่จะต้องดูแลทรัพย์สินบ้านเรือนของมีค่า สำรวจความเสียหาย และให้การช่วยเหลือ รวมทั้งการกระจายของรับบริจาค และสนับสนุนความช่วยเหลือ การอนุมัติงบประมาณประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการแจกคู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วม
5.การฟื้นฟูหลังน้ำลดซึ่งมีทั้งการเคลื่อนย้ายกลับที่พัก การสนับสนุนงบประมาณเยียวยาความเสียหายการซ่อมแซมทางกายภาพ และการก่อสร้างแนวป้องกันน้ำเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ข้อควรปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ต่างๆ
1.เมื่อแจ้งเตือนน้ำท่วม จะมีการแจ้งล่วงหน้าประมาณ 3 ชั่วโมง เพื่อทำการเก็บของรถยนต์หรือจักยานยนต์ ควรหาอาคารสูงเพื่อจอดรถ ตรวจสอบได้จากห้างสรรพสินค้าต่างๆ
2.ผู้อาศัยที่มีบ้านพักริมคลองหรือบ้านชั้นเดียว ควรมีการเก็บเสื้อผ้าเครื่องใช้จำเป็นให้ง่ายต่อการเคลื่อนย้าย กรณีต้องอพยพหนีน้ำ (สำหรับพื้นที่เสี่ยงที่ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติและ กทม.ประกาศ)
3.การจะไปซื้ออาหารมากักตุนเพื่อสำรองไว้ แนะนำว่า ควรจะสำรองไว้เพียงแค่ 2 วันเท่านั้น เพราะเมื่อเกิดเหตุจริง จะมีการดำเนินการเรื่องการแจกของพร้อมอาหารปรุงสำเร็จและน้ำดื่ม (ขอให้เข้าใจว่า ข่าวลือที่เกิดขึ้นนั้นอาจมีการนำเอาประโยชน์ทางธุรกิจมาใช้เพื่อให้ได้กำไร ซึ่งเป็นการฉวยโอกาสของภาคธุรกิจบางส่วนเท่านั้น)สำหรับผู้ที่มั่นใจว่า สามารถพำนักอยู่ที่บ้านได้ ควรมีการเตรียมเตาและถังแก็สให้อยู่ในที่พ้นน้ำเพื่อความสะดวกในการปรุง อาหาร เนื่องจากอาจมีการตัดไฟฟ้า
4.การเตรียมเครื่องใช้ที่จำเป็น ควรเตรียมเครื่องใช้เด็ก ยากันยุง ยาประจำตัว ยาสามัญ สบู่ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน ยาสระผม ผ้าเช็ดตัว ถ่านไฟฉาย ไฟฉาย เทียนไข ไม้ขีดไฟ หรือไฟแช็ก น้ำดื่ม
5.ควรประจุไฟแบตเตอรี่ให้เต็ม เมื่อเกิดเหตุใช้โทร.ออกแค่จำเป็นเท่านั้น
พื้นที่เสี่ยงต่อน้ำท่วมกรุงเทพฯ
1.พื้นที่นอกแนวคันกั้นน้ำ
1.1 พื้นที่ทุ่งรังสิต ซึ่งจะทำการรับน้ำ และแยกมวลน้ำออกไปทาง มีนบุรี หนองจอก คลองสามวา ลาดกระบัง และทางพุทธมณฑลสาย 1 และ 2 ถนนกาญจนาภิเษก
1.2 พื้นที่เสี่ยงตามคลอง 9 จุดที่จะมีการรับและระบายน้ำลงสู่อุโมงค์
1.2.1 คลองบางพรม (ถ.กาญจนาภิเษก)
1.2.2 คลองฉิมพลี - คลองบางแวก (พุทธมณฑลสาย 1)
1.2.3 คลองบางแวก (ถ.รัชดาภิเษก)
1.2.4 คลองเปรมประชากร (ดอนเมือง)
1.2.5 คลองลาดพร้าว (วัดลาดพร้าว) ปากคลองตลาด - คลองบางซื่อ (ฝั่งขวา ถ.พหลโยธิน)
1.2.6 คลองมหาสวัสดิ์ (ทั้งสองฝั่ง ถ.พุทธมณฑลสาย 2)
1.3 พื้นที่ประกาศ 15 จุดแนะนำให้ทำการเก็บของหนีน้ำ ได้แก่
1.3.1 เขตสาทร ย่านถนนจันทร์เซนต์หลุยส์ สาธุประดิษฐ์
1.3.2 เขตพญาไท ถนนพหลโยธิน ช่วงคลองสามเสน-คลองบางซื่อ
1.3.3 เขตพระโขนง ถนนสุขุมวิท จากคลองพระโขนง-ซอยลาซาล
1.3.4 เขตวัฒนา ซอยสุขุมวิท 39 และ 49
1.3.5 เขตวังทองหลาง ถนนลาดพร้าว จากคลองลาดพร้าว-ห้างเดอะมอลล์
1.3.6 เขตบึงกุ่ม ถนนนวมินทร์ จากคลองดอนอีกา-แยกถนนประเสริฐมนูกิจทั้งสองฝั่ง
1.3.7 เขตดินแดง ถนนรัชดาภิเษก หน้าห้างโรบินสัน
1.3.8 เขตจตุจักร ถนนรัชดาภิเษก แยกลาดพร้าว
1.3.9 เขตราชเทวี ถนนเพชรบุรี จากถนนบรรทัดทอง-แยกราชเทวี
1.3.10 เขตราชเทวี ถนนนิคมมักกะสัน
1.3.11 เขตราชเทวี ถนนพระรามที่ 6 หน้าตลาดประแจจีน
1.3.12 เขตบางแค ถนนเพชรเกษมซอย 63 (ซอยวัดม่วง)
1.3.13 เขตยานนาวา ถนนเย็นอากาศ จากถนนนางลิ้นจี่-ซอยศรีบำเพ็ญ
1.3.14 เขตประเวศ ถนนศรีนครินทร์ ช่วงคลองตาสาด-คลองตาช้าง
1.3.15 เขตพระนคร ถนนสนามไชย และถนนมหาร 1) เขตสาทร ย่านถนนจันทร์ เซนต์หลุยส์ สาธุประดิษฐ์
เปิด 78 ศูนย์อพยพ กทม.ฝั่งตะวันออก
สำหรับศูนย์อพยพที่ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) ได้สั่งการให้สำนักงานเขตฝั่งตะวันออกและ 13 เขตที่อาศัยอยู่นอกแนวคันกั้นน้ำ ทำการจัดเตรียมศูนย์พักพิงชั่วคราวให้กับชาวบ้านผู้ประสบภัยน้ำท่วม โดยล่าสุดได้มีการรวบรวมชุมชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 191 ชุมชน จำนวน 78 ศูนย์อพยพ ใน 4 เขตฝั่งตะวันออกของ กทม.ได้แก่
1.เขตมีนบุรี จำนวน 31 ชุมชน มีสถานที่รองรับผู้ได้รับผลกระทบ 10 ศูนย์อพยพ ประกอบด้วย 1.โรงเรียนบึงขวาง (มหาดไทยอุปถัมภ์) 2.โรงเรียนวังเล็กวิทยานุสรณ์ (คลองสี่) 3.โรงเรียนคลองสาม 4.โรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน 5.โรงเรียนศาลาคู้ 6.โรงเรียนบ้านเกาะ 7.โรงเรียนบ้านเกาะ 8.วัดใหม่ลำนกแควก 9.โรงเรียนคลองสองต้นนุ่น และ 10.โรงเรียนสุเหร่าแสนแสบ ทั้งนี้ สามารถประสานได้ที่ นางเฉลิมศรี เฉียงอุทิศ เจ้าหน้าที่เขตมีนบุรี เบอร์โทรศัพท์ 087-980-3681
2.เขตหนองจอก จำนวน 73 ชุมชน มีสถานที่รองรับผู้ได้รับผลกระทบ 32 ศูนย์อพยพ ประกอบด้วย 1.โรงเรียนวัดแสนเกษม 2.โรงเรียนวัดใหม่เจริษราษฎร์ 3.โรงเรียนวัดพระยาปลา 4.โรงเรียนวัดหนองจอก(ภักดีนรเศรษฐ) 5.โรงเรียนสามแยกท่าไข่ 6.โรงเรียนนีลราษฎร์อุปถัมภ์ 7.โรงเรียนสุเหร่าศาลาแดง 8.โรงเรียนหลวงแพ่ง 9.โรงเรียนสุเหร่าหะยีมินา 10.โรงเรียนสุเหร่าใหม่ 11.โรงเรียนบ้านลำต้นกล้วย 12.โรงเรียนวัดทรัพย์สโมสร 13.โรงเรียนวัดสามง่าม 14.โรงเรียนสุเหร่าคลองเก้า 15.โรงเรียนสุเหร่าคลองสิบ
16.โรงเรียนสุเหร่าคลองสิบเอ็ด 17.โรงเรียนลำบุหรี่พวง 18.โรงเรียนวัดสีชมพู 19.โรงเรียนอิสลามลำไพร 20.โรงเรียนบ้านเจียรดับ 21.โรงเรียนวัดทรัพย์สโมสร 22.โรงเรียนสุเหร่านาดับ 23.โรงเรียนวัดลำต้อยติ่ง 24.โรงเรียนศิริวังวิทยาคาร 25.โรงเรียนวัดใหม่กระทุ่มล้ม 26.โรงเรียนวัดราษฎร์บำรุง 27.โรงเรียนวัดใหม่เจริญราษฎร์ 28.โรงเรียนสุเหร่าบ้านเกาะ 29.โรงเรียนลำบุหรี่พวง 30.โรงเรียนหนองจอกพิทยานุสรณ์ 31.โรงเรียนสิริวังวิทยาคาร และ 32.โรงเรียนสังฆประชานุสรณ์ ทั้งนี้ สามารถประสานได้ที่ นายดำรงค์ รื่นสุข เจ้าหน้าที่เขตหนองจอก เบอร์โทรศัพท์ 081-648-5557
3.เขตลาดกระบัง จำนวน 32 ชุมชน มีสถานที่รองรับผู้ได้รับผลกระทบ 16 ศูนย์อพยพ ประกอบด้วย 1.โรงเรียนวัดบึงบัว 2.โรงเรียนวัดสุทธาโภชน์ 3.โรงเรียนลำพะอง 4.โรงเรียนวัดทิพพาวาส 5.โรงเรียนวัดบึงบัว 6.โรงเรียนวัดลาดกระบัง 7.โรงเรียนวัดปลูกศรัทธา 8.โรงเรียนวัดบำรุงรื่น 9.โรงเรียนวัดราชโกษา 10.โรงเรียนประสานสามัคคี 11.โรงเรียนวัดพลมานีย์ 12.โรงเรียนวัดสุทธาโภชน์ 13.โรงเรียนแสงหิรัญ 14.โรงเรียนตำบลขุมทอง 15.โรงเรียนตำบลขุมทอง และ16.โรงเรียนสุเหร่าลำนายโส ทั้งนี้ สามารถประสานได้ที่ นายโฆษิต ธรรมโฆษิต เจ้าหน้าที่เขตลาดกระบัง เบอร์โทรศัพท์ 086-9801-6439
4.เขตคลองสามวา จำนวน 55 ชุมชน มีสถานที่รองรับผู้ได้รับผลกระทบ 20 ศูนย์อพยพ ประกอบด้วย โรงเรียนวัดบัวแก้วสุเหร่าคลองหนึ่ง 1.โรงเรียนประชาราษฎร์อุปถัมภ์สุเหร่าคลอง1 2.โรงเรียนสุเหร่าคลองหนึ่ง 3.โรงเรียนสุเหร่าสามวา 4.โรงเรียนวัดสุขใจ 5.โรงเรียนวัดศรีสุก 6.โรงเรียนสุเหร่าคลองสี่ 7.โรงเรียนวัดลำกระดาน 8.โรงเรียนวัดสุทธิสะอาด 9.โรงเรียนสุเหร่าคลองสี่ 10.โรงเรียนวัดสุทธิสะอาด 11.โรงเรียนบ้านแบนชะโด 12.โรงเรียนวัดแป้นทอง 13.โรงเรียนวัดพระยาสุเรนทร์ 14.โรงเรียนวัดบัวแก้ว 15.โรงเรียนวัดบัวแก้ว วัดสุขใจ วัดสุทธิสะอาด 16.โรงเรียนสุเหร่าแสบแสบ 17.โรงเรียนสุเหร่าเกาะขุนเณร 18.โรงเรียนสุเหร่าเกาะขุนเณร 19.โรงเรียนวัดบัวแก้ว และ 20.โรงเรียนบ้านแบนชะโด ทั้งนี้ สามารถประสานได้ที่ นายชลอ เฉียงอุทิศ เจ้าหน้าที่เขตคลองสามวา เบอร์โทรศัพท์ 087-017-0111
ส่วน 13 เขตที่อยู่นอกแนวคันกั้นน้ำที่ กทม.สำรวจ ได้แก่ 1.เขตบางซื่อ ได้แก่ ชุมชนพระราม 6 (ฝั่งติดแม่น้ำ) และชุมชนปากคลองบางเขนใหม่ 2.เขตดุสิต ได้แก่ ชุมชนเขียวไข่กา ชุมชนราชผาทับทิมร่วมใจ (เชิงสะพานกรุงธน) ชุมชนซอยสีคาม (ซอยสามเสน 19) ชุมชนปลายซอยมิตรคาม (ซอยสามเสน 13) และชุมชนวัดเทวราชกุญชร (ถนนศรีอยุธยา) 3.เขตพระนคร ได้แก่ ชุมชนท่าวัง ชุมชนท่าช้าง และชุมชนท่าเตียน 4.เขตสัมพันธวงศ์ ได้แก่ ชุมชนวัดปทุมคงคา (ท่าน้ำสวัสดี) และชุมชนตลาดน้อย 5.เขตบางคอแหลม ได้แก่ ชุมชนวัดบางโคล่นอก ชุมชนหน้าวัดอินทร์บรรจง ชุมชนซอยมาตานุสรณ์ และชุมชนหลังโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
6.เขตยานนาวา ได้แก่ ชุมชนโรงสี (ถนนพระราม 3) 7.เขตคลองเตย ได้แก่ ชุมชนสวนไทรริมคลองพระโขนง 8.เขตบางพลัด ได้แก่ ชุมชนวัดฉัตรแก้ว 9.เขตบางกอกน้อย ได้แก่ ชุมชนสันติชนสงเคราะห์ ชุมชนปากคลองน้ำตาล-คลองพิณพาทย์ ชุมชนตรอกวังหลัง และชุมชนดุสิต-นิมิตรใหม่ 10.เขตธนบุรี ได้แก่ ชุมชนปากคลองบางกอกใหญ่ 11.เขตคลองสาน ได้แก่ ชุมชนเจริญนครซอย 29/2 12.เขตราษฎร์บูรณะ ได้แก่ ชุมชนดาวคะนอง และ 13.เขตทวีวัฒนา ได้แก่ ชุมชนวัดปรุณาวาส
ทั้งนี้ กทม.ได้ เตรียมศูนย์อพยพจำนวน 23 ศูนย์อพยพ พร้อมจัดกำลังเจ้าหน้าที่รวมถึงนักสังคมสงเคราะห์คอยดูแล ประกอบด้วย 1.โรงเรียนวัดสร้อยทอง ประสานได้ที่ นายนพดล วรวิชา เบอร์โทรศัพท์ 083-425-8944 2.โรงเรียนมัชฌันติการาม 3.โรงเรียนวัดจันทรสโมสร ประสานได้ที่ ว่าที่รอ.ตรีทรงศร กัลยาสุนทร เบอร์โทรศัพท์ 086-060-2211 4.โรงเรียนวัดราชผาติการาม 5.โรงเรียนวัดเทวราชกุญธร 6.วัดอินทรวิหาร ประสานได้ที่ นายถวิล ทวีวัน เบอร์โทรศัพท์ 081-929-8622 7.วัดมหาธาตุ 8.โรงเรียนวัดพระเชตุพน 9.วัดปทุมคงคา ประสานได้ที่ นายสมบัติ พหุรวงษ์ เบอร์โทรศัพท์ 089-992-6329 10.โรงเรียนวัดจันทร์ใน ประสานได้ที่ นางพรพิมล ม่วงศรีจันทร์ เบอร์โทรศัพท์ 081-925-0383 11.โรงเรียนวัดลาดบัวขาว
12.โรงเรียนวัดบางโคล่นอก 13.โรงเรียนวัดจันทร์นอก 14.โรงเรียนวัดช่องลม ประสานได้ที่ นายมานะชัย กฤตอำไพ เบอร์โทรศัพท์ 086-335-9584 15.วัดสะพาน 16.โรงเรียนวัดฉัตรแก้วจงกลนี ประสานได้ที่ นางฤทธิพร ชัยสุรินทร์ เบอร์โทรศัพท์ 086-765-7889 17.โรงเรียนวัดดุสิต ประสานได้ที่ นางอริษา แสวงผล เบอร์โทรศัพท์ 081-643-2775 18.โรงเรียนมัธยมวัดดุสิต 19.โรงเรียนสตรีวัดระฆัง 20.โรงเรียนวัดกัลยาณมิตร ประสานได้ที่ นายยงยุทธ ศรัทธาธรรมกุล เบอร์โทรศัพท์ 081-820-8886 21.วัดเศวตฉัตร ประสานได้ที่ นายสุภกิจ สุรจินตนาภรณ์ เบอร์โทรศัพท์ 081-823-5534 22.โรงเรียนวัดบางปะกอก ประสานได้ที่ นายสมนึก การีมี เบอร์โทรศัพท์ 089-789-8390 และ 23.โรงเรียนวัดปุรณาวาส ประสานได้ที่ นายวิชาญ เหรียญวิไลรัตน์ เบอร์โทรศัพท์ 081-700-6968
สถานที่อพยพหนีน้ำท่วมต่างจังหวัด
จ.นครสวรรค์ 5 แห่ง ได้แก่ ร.ร.นครสวรรค์ 2, วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์, ร.ร.วัดคีรีวงค์, สนามกีฬากลางจังหวัด และ วิทยาเทคโนโลยีภาคเหนือ
จ.ลพบุรี 9 แห่ง ได้แก่ ศูนย์การบินทหารบก, กองบิน 2 กองพลทหารปืนใหญ่, ศูนย์การบินทหารปืนใหญ่, ศูนย์อำนวยการสร้างอาวุธศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร, หน่วยบัญชาการรบสงครามพิเศษ, กรมทหารราบที่ 31 รอ., ร.ร.ค่ายนารายณ์ศึกษาถายใต้หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ, รพ.อานันทมหิดล และที่พักชั่วคราวริม ถ.สายบ้านหมี่-บางงา (20 จุด)
จ.อุทัยธานี 5 จุด สนามกีฬากลาง, กองร้อย อส.จังหวัด, ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน, ร.ร.พุทธมณฑล และวัดสังกัสรัตนคีรี
จ.สิงห์บุรี เตรียมพื้นที่อพยพ 18 แห่ง ศาลาปึงเกงม่า, วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี แห่งที่ 2,ตลาดปากบาง, ตลาดวัดกุฎีทอง, ตลาดไม้ดัด, ตลาดชันณสูตร, เชิงกลัด, ร.ร.วัดพิกุลทอง, วิทยาลัยเทคนิค 2, วัดวิหารขาว, อนุบาลท่าช้าง, วัดสาธุ, วัดท่าข้าม, วัดโพธิ์ศรี, วัดสระบาป,วัดสิงห์, วัดพริก และวัดพิกุลทอง
จ.ชัยนาท เตรียมพื้นที่อพยพ 28 แห่ง ได้แก่ วัดธรรมามูลวรวิหาร, คันคลองชลประทานพหลโยธิน, ลานตากข้าว ต.เขาท่าพระ, วัดท่าช้าง, ถ.หางน้ำสาคร ,หลังโรงงาน EIKO ,วัดดักคะนน, ถ.สายชัยนาท-เขื่อน, ถ.สาย 340, ถ.ชัยนาท-ตาคลี ร.ร.ชัยนาทพิทยาคม 2, ถ.สาย 311 ชัยนาท-สิงห์บุรี, ถ.สายคันคลองมหาราช ,ถ.พหลโยธิน อ.สรรพยา ,สวนเฉลิมพระเกียรติ หน้าโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อน, ถ.บ้านเหลมหว้า, วัดเขาแก้ว, ถ.บ้านเขาดิน, วัดปากคลองมะขามเฒ่า, ร.ร.วัดสิงห์ สะพานคลองมอญ, เต็นท์ริมคลองอนุสาสนนันท์, เต็นท์ถนนสายริมน้ำเจ้าพระยา, วัดโคก-ท่าฉนวน, เต็นท์ริมถนน ท่าอู่-หางน้ำสาคร, ศาลาวัดพิกุลงาม,ศาลาวัดศรีมณีวรรณ, เต็นท์ริมคันคลองเขตเทศบาลคุ้งสำเภา, วัดทับขี้เหล็ก และบริเวณคันคลอง ต.วังไก่เถื่อน
จ.อ่างทอง เตรียมพื้นที่อพยพ 40 แห่ง (ไม่มีรายละเอียด) จ.พระนครศรีอยุธยา เตรียมศูนย์อพยพ 102 จุด ที่ศูนย์อพยพ 11 อำเภอ (ไม่มีรายละเอียด) ศาลากลาง จ.พระนครศรีอยุธยาและศูนย์อพยพฝั่งตรงข้ามศาลากลางจังหวัด
จ.สระบุรี 3 แห่ง คือ ค่ายอดิศร, กรมทหารม้าที่ 4 รักษาพระองค์ และ กรมทหารม้าที่ 5 รักษาพระองค์
จ.พระนครศรีอยุธยา 102 แห่ง เป็นศูนย์อพยพในพื้นที่ 11 อำเภอ, ศาลากลางจังหวัด และศูนย์อพยพประชาชนฝั่งตรงข้ามศาลากลางจังหวัด
สรุปข้อมูลเพื่อการทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆ ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) ในกรณีการรับมือน้ำท่วม พร้อมเปิด 78 ศูนย์อพยพฝั่งตะวันออก
ข้อสรุปหลักภาพรวม กทม.ทั้งหมด
- มีการเปิดประตูน้ำตามคลองต่างๆ ทุกคลองเพื่อให้น้ำผ่าน ดังนั้น จะเกิดภาวะระดับน้ำสูงขึ้นจนอาจล้นตลิ่งจนถึงระดับครึ่งแข้งได้
- ในกรณีฝนตกซึ่งจะมีมากในช่วงเวลานี้ อันเนื่องมาจากพายุต่างๆ ที่มาแล้ว และกำลังจะมาอีก ทาง กทม.จะทำการปิดประตูน้ำเพื่อไม่ให้น้ำเข้าท่วมพื้นที่ ดังนั้น จะเกิดกรณีน้ำขังจากฝนตกบ้าง ซึ่งบางครั้งอาจถึงหัวเข่า และเมื่อฝนหยุดตกแล้ว จะทำการเปิดประตูระบายน้ำดังเดิม
- พื้นที่ชุมชนที่อยู่ใกล้ลำคลองต่างๆ ทุกลำคลองจะพบกับปัญหาน้ำล้นตลิ่ง จนถึงน้ำท่วมขัง ดังนั้น แนะนำว่า ควรจะขนของหนีน้ำ (ควรจะมีระดับสูงตั้งแต่ 1.00 เมตรขึ้นไป เพราะเรายังไม่อาจคาดได้ในเรื่องของมวลน้ำก้อนใหญ่ที่จะตามเข้ามาใน 2-3 วันข้างหน้า ดังนั้น กทม. แจ้งเตือนมา ระดับที่ปลอดภัย คือ 0.60-0.80 เมตร)
ขณะนี้ขอยืนยันว่า จะยังไม่มีการแจ้งเตือนให้มีการอพยพใดๆ ทั้งสิ้น แต่ยังคงไว้ให้มีการเตรียมการในเรื่องของการขนของหนีน้ำเท่านั้น
ข้อมูลข่าวสารต่างๆ สามารถตรวจสอบได้ทางหน้า เว็บไซต์ดังนี้
1.www.ndwc.go.th
2.Facebook page ที่ศปภ.ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัย
3.Twitter page ที่ GCC_111, GCC-192, Nailek507
- กรณีที่เกิดข่าวจากการพูดแบบปากต่อปาก ขอให้ตรวจสอบมาที่ 1111 ต่อ 5, 1784 หรือ 191
หลักเกณฑ์และแผนการอพยพ ทางกรุงเทพมหานครได้จัดเตรียมแผนในภารกิจอพยพในครั้งนี้โดยได้กำหนดขั้นแรก คือ
1.การจัดทำแผนที่ประสบภัยน้ำท่วม ทั้ง ทุ่งตะวันตกชุมชนริมน้ำและแนวตะวันออก โดย 1.1 สำรวจชุมชนและแผนที่ที่ได้รับผลกระทบ 1.2 สำรวจจำนวนครัวเรือนและลงทะเบียนผู้รับผลกระทบ 1.3 กำหนดพื้นที่พักพิงใกล้เคียง
2.การเคลื่อนย้ายผู้รับผลกระทบ 2.1 รถขนย้าย 2.2 เรือขนย้าย 2.3 บุคลากรเจ้าหน้าที่เทศกิจ และ อภปร.2.4 การประสานเส้นทางการควบคุมการจราจร 2.5 การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย คนพิการ และหน่วยแพทย์กู้ชีพ 2.6 การเตือนภัย
3.ศูนย์พักพิงซึ่งจะได้จัดเตรียมสถานที่พักและเครื่องนอน รวมทั้งปัจจัยสี่ และอุปกรณ์ดำรงชีพจัดบุคลากรสนับสนุนให้ข้อมูลข่าวสาร ดูแลสัตว์เลี้ยงที่ผู้อพยพมาออกมาด้วยและการจัดนักจิตวิทยา เข้าไปฟื้นฟูสภาพจิตใจซึ่งจะต้องกระทำการอย่างทันที
4.ศูนย์ประสานงานกลางที่จะต้องดูแลทรัพย์สินบ้านเรือนของมีค่า สำรวจความเสียหาย และให้การช่วยเหลือ รวมทั้งการกระจายของรับบริจาค และสนับสนุนความช่วยเหลือ การอนุมัติงบประมาณประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการแจกคู่มือรับสถานการณ์น้ำท่วม
5.การฟื้นฟูหลังน้ำลดซึ่งมีทั้งการเคลื่อนย้ายกลับที่พัก การสนับสนุนงบประมาณเยียวยาความเสียหายการซ่อมแซมทางกายภาพ และการก่อสร้างแนวป้องกันน้ำเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ข้อควรปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ต่างๆ
1.เมื่อแจ้งเตือนน้ำท่วม จะมีการแจ้งล่วงหน้าประมาณ 3 ชั่วโมง เพื่อทำการเก็บของรถยนต์หรือจักยานยนต์ ควรหาอาคารสูงเพื่อจอดรถ ตรวจสอบได้จากห้างสรรพสินค้าต่างๆ
2.ผู้อาศัยที่มีบ้านพักริมคลองหรือบ้านชั้นเดียว ควรมีการเก็บเสื้อผ้าเครื่องใช้จำเป็นให้ง่ายต่อการเคลื่อนย้าย กรณีต้องอพยพหนีน้ำ (สำหรับพื้นที่เสี่ยงที่ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติและ กทม.ประกาศ)
3.การจะไปซื้ออาหารมากักตุนเพื่อสำรองไว้ แนะนำว่า ควรจะสำรองไว้เพียงแค่ 2 วันเท่านั้น เพราะเมื่อเกิดเหตุจริง จะมีการดำเนินการเรื่องการแจกของพร้อมอาหารปรุงสำเร็จและน้ำดื่ม (ขอให้เข้าใจว่า ข่าวลือที่เกิดขึ้นนั้นอาจมีการนำเอาประโยชน์ทางธุรกิจมาใช้เพื่อให้ได้กำไร ซึ่งเป็นการฉวยโอกาสของภาคธุรกิจบางส่วนเท่านั้น)สำหรับผู้ที่มั่นใจว่า สามารถพำนักอยู่ที่บ้านได้ ควรมีการเตรียมเตาและถังแก็สให้อยู่ในที่พ้นน้ำเพื่อความสะดวกในการปรุง อาหาร เนื่องจากอาจมีการตัดไฟฟ้า
4.การเตรียมเครื่องใช้ที่จำเป็น ควรเตรียมเครื่องใช้เด็ก ยากันยุง ยาประจำตัว ยาสามัญ สบู่ ยาสีฟัน แปรงสีฟัน ยาสระผม ผ้าเช็ดตัว ถ่านไฟฉาย ไฟฉาย เทียนไข ไม้ขีดไฟ หรือไฟแช็ก น้ำดื่ม
5.ควรประจุไฟแบตเตอรี่ให้เต็ม เมื่อเกิดเหตุใช้โทร.ออกแค่จำเป็นเท่านั้น
พื้นที่เสี่ยงต่อน้ำท่วมกรุงเทพฯ
1.พื้นที่นอกแนวคันกั้นน้ำ
1.1 พื้นที่ทุ่งรังสิต ซึ่งจะทำการรับน้ำ และแยกมวลน้ำออกไปทาง มีนบุรี หนองจอก คลองสามวา ลาดกระบัง และทางพุทธมณฑลสาย 1 และ 2 ถนนกาญจนาภิเษก
1.2 พื้นที่เสี่ยงตามคลอง 9 จุดที่จะมีการรับและระบายน้ำลงสู่อุโมงค์
1.2.1 คลองบางพรม (ถ.กาญจนาภิเษก)
1.2.2 คลองฉิมพลี - คลองบางแวก (พุทธมณฑลสาย 1)
1.2.3 คลองบางแวก (ถ.รัชดาภิเษก)
1.2.4 คลองเปรมประชากร (ดอนเมือง)
1.2.5 คลองลาดพร้าว (วัดลาดพร้าว) ปากคลองตลาด - คลองบางซื่อ (ฝั่งขวา ถ.พหลโยธิน)
1.2.6 คลองมหาสวัสดิ์ (ทั้งสองฝั่ง ถ.พุทธมณฑลสาย 2)
1.3 พื้นที่ประกาศ 15 จุดแนะนำให้ทำการเก็บของหนีน้ำ ได้แก่
1.3.1 เขตสาทร ย่านถนนจันทร์เซนต์หลุยส์ สาธุประดิษฐ์
1.3.2 เขตพญาไท ถนนพหลโยธิน ช่วงคลองสามเสน-คลองบางซื่อ
1.3.3 เขตพระโขนง ถนนสุขุมวิท จากคลองพระโขนง-ซอยลาซาล
1.3.4 เขตวัฒนา ซอยสุขุมวิท 39 และ 49
1.3.5 เขตวังทองหลาง ถนนลาดพร้าว จากคลองลาดพร้าว-ห้างเดอะมอลล์
1.3.6 เขตบึงกุ่ม ถนนนวมินทร์ จากคลองดอนอีกา-แยกถนนประเสริฐมนูกิจทั้งสองฝั่ง
1.3.7 เขตดินแดง ถนนรัชดาภิเษก หน้าห้างโรบินสัน
1.3.8 เขตจตุจักร ถนนรัชดาภิเษก แยกลาดพร้าว
1.3.9 เขตราชเทวี ถนนเพชรบุรี จากถนนบรรทัดทอง-แยกราชเทวี
1.3.10 เขตราชเทวี ถนนนิคมมักกะสัน
1.3.11 เขตราชเทวี ถนนพระรามที่ 6 หน้าตลาดประแจจีน
1.3.12 เขตบางแค ถนนเพชรเกษมซอย 63 (ซอยวัดม่วง)
1.3.13 เขตยานนาวา ถนนเย็นอากาศ จากถนนนางลิ้นจี่-ซอยศรีบำเพ็ญ
1.3.14 เขตประเวศ ถนนศรีนครินทร์ ช่วงคลองตาสาด-คลองตาช้าง
1.3.15 เขตพระนคร ถนนสนามไชย และถนนมหาร 1) เขตสาทร ย่านถนนจันทร์ เซนต์หลุยส์ สาธุประดิษฐ์
เปิด 78 ศูนย์อพยพ กทม.ฝั่งตะวันออก
สำหรับศูนย์อพยพที่ ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) ได้สั่งการให้สำนักงานเขตฝั่งตะวันออกและ 13 เขตที่อาศัยอยู่นอกแนวคันกั้นน้ำ ทำการจัดเตรียมศูนย์พักพิงชั่วคราวให้กับชาวบ้านผู้ประสบภัยน้ำท่วม โดยล่าสุดได้มีการรวบรวมชุมชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงทั้งสิ้น 191 ชุมชน จำนวน 78 ศูนย์อพยพ ใน 4 เขตฝั่งตะวันออกของ กทม.ได้แก่
1.เขตมีนบุรี จำนวน 31 ชุมชน มีสถานที่รองรับผู้ได้รับผลกระทบ 10 ศูนย์อพยพ ประกอบด้วย 1.โรงเรียนบึงขวาง (มหาดไทยอุปถัมภ์) 2.โรงเรียนวังเล็กวิทยานุสรณ์ (คลองสี่) 3.โรงเรียนคลองสาม 4.โรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน 5.โรงเรียนศาลาคู้ 6.โรงเรียนบ้านเกาะ 7.โรงเรียนบ้านเกาะ 8.วัดใหม่ลำนกแควก 9.โรงเรียนคลองสองต้นนุ่น และ 10.โรงเรียนสุเหร่าแสนแสบ ทั้งนี้ สามารถประสานได้ที่ นางเฉลิมศรี เฉียงอุทิศ เจ้าหน้าที่เขตมีนบุรี เบอร์โทรศัพท์ 087-980-3681
2.เขตหนองจอก จำนวน 73 ชุมชน มีสถานที่รองรับผู้ได้รับผลกระทบ 32 ศูนย์อพยพ ประกอบด้วย 1.โรงเรียนวัดแสนเกษม 2.โรงเรียนวัดใหม่เจริษราษฎร์ 3.โรงเรียนวัดพระยาปลา 4.โรงเรียนวัดหนองจอก(ภักดีนรเศรษฐ) 5.โรงเรียนสามแยกท่าไข่ 6.โรงเรียนนีลราษฎร์อุปถัมภ์ 7.โรงเรียนสุเหร่าศาลาแดง 8.โรงเรียนหลวงแพ่ง 9.โรงเรียนสุเหร่าหะยีมินา 10.โรงเรียนสุเหร่าใหม่ 11.โรงเรียนบ้านลำต้นกล้วย 12.โรงเรียนวัดทรัพย์สโมสร 13.โรงเรียนวัดสามง่าม 14.โรงเรียนสุเหร่าคลองเก้า 15.โรงเรียนสุเหร่าคลองสิบ
16.โรงเรียนสุเหร่าคลองสิบเอ็ด 17.โรงเรียนลำบุหรี่พวง 18.โรงเรียนวัดสีชมพู 19.โรงเรียนอิสลามลำไพร 20.โรงเรียนบ้านเจียรดับ 21.โรงเรียนวัดทรัพย์สโมสร 22.โรงเรียนสุเหร่านาดับ 23.โรงเรียนวัดลำต้อยติ่ง 24.โรงเรียนศิริวังวิทยาคาร 25.โรงเรียนวัดใหม่กระทุ่มล้ม 26.โรงเรียนวัดราษฎร์บำรุง 27.โรงเรียนวัดใหม่เจริญราษฎร์ 28.โรงเรียนสุเหร่าบ้านเกาะ 29.โรงเรียนลำบุหรี่พวง 30.โรงเรียนหนองจอกพิทยานุสรณ์ 31.โรงเรียนสิริวังวิทยาคาร และ 32.โรงเรียนสังฆประชานุสรณ์ ทั้งนี้ สามารถประสานได้ที่ นายดำรงค์ รื่นสุข เจ้าหน้าที่เขตหนองจอก เบอร์โทรศัพท์ 081-648-5557
3.เขตลาดกระบัง จำนวน 32 ชุมชน มีสถานที่รองรับผู้ได้รับผลกระทบ 16 ศูนย์อพยพ ประกอบด้วย 1.โรงเรียนวัดบึงบัว 2.โรงเรียนวัดสุทธาโภชน์ 3.โรงเรียนลำพะอง 4.โรงเรียนวัดทิพพาวาส 5.โรงเรียนวัดบึงบัว 6.โรงเรียนวัดลาดกระบัง 7.โรงเรียนวัดปลูกศรัทธา 8.โรงเรียนวัดบำรุงรื่น 9.โรงเรียนวัดราชโกษา 10.โรงเรียนประสานสามัคคี 11.โรงเรียนวัดพลมานีย์ 12.โรงเรียนวัดสุทธาโภชน์ 13.โรงเรียนแสงหิรัญ 14.โรงเรียนตำบลขุมทอง 15.โรงเรียนตำบลขุมทอง และ16.โรงเรียนสุเหร่าลำนายโส ทั้งนี้ สามารถประสานได้ที่ นายโฆษิต ธรรมโฆษิต เจ้าหน้าที่เขตลาดกระบัง เบอร์โทรศัพท์ 086-9801-6439
4.เขตคลองสามวา จำนวน 55 ชุมชน มีสถานที่รองรับผู้ได้รับผลกระทบ 20 ศูนย์อพยพ ประกอบด้วย โรงเรียนวัดบัวแก้วสุเหร่าคลองหนึ่ง 1.โรงเรียนประชาราษฎร์อุปถัมภ์สุเหร่าคลอง1 2.โรงเรียนสุเหร่าคลองหนึ่ง 3.โรงเรียนสุเหร่าสามวา 4.โรงเรียนวัดสุขใจ 5.โรงเรียนวัดศรีสุก 6.โรงเรียนสุเหร่าคลองสี่ 7.โรงเรียนวัดลำกระดาน 8.โรงเรียนวัดสุทธิสะอาด 9.โรงเรียนสุเหร่าคลองสี่ 10.โรงเรียนวัดสุทธิสะอาด 11.โรงเรียนบ้านแบนชะโด 12.โรงเรียนวัดแป้นทอง 13.โรงเรียนวัดพระยาสุเรนทร์ 14.โรงเรียนวัดบัวแก้ว 15.โรงเรียนวัดบัวแก้ว วัดสุขใจ วัดสุทธิสะอาด 16.โรงเรียนสุเหร่าแสบแสบ 17.โรงเรียนสุเหร่าเกาะขุนเณร 18.โรงเรียนสุเหร่าเกาะขุนเณร 19.โรงเรียนวัดบัวแก้ว และ 20.โรงเรียนบ้านแบนชะโด ทั้งนี้ สามารถประสานได้ที่ นายชลอ เฉียงอุทิศ เจ้าหน้าที่เขตคลองสามวา เบอร์โทรศัพท์ 087-017-0111
ส่วน 13 เขตที่อยู่นอกแนวคันกั้นน้ำที่ กทม.สำรวจ ได้แก่ 1.เขตบางซื่อ ได้แก่ ชุมชนพระราม 6 (ฝั่งติดแม่น้ำ) และชุมชนปากคลองบางเขนใหม่ 2.เขตดุสิต ได้แก่ ชุมชนเขียวไข่กา ชุมชนราชผาทับทิมร่วมใจ (เชิงสะพานกรุงธน) ชุมชนซอยสีคาม (ซอยสามเสน 19) ชุมชนปลายซอยมิตรคาม (ซอยสามเสน 13) และชุมชนวัดเทวราชกุญชร (ถนนศรีอยุธยา) 3.เขตพระนคร ได้แก่ ชุมชนท่าวัง ชุมชนท่าช้าง และชุมชนท่าเตียน 4.เขตสัมพันธวงศ์ ได้แก่ ชุมชนวัดปทุมคงคา (ท่าน้ำสวัสดี) และชุมชนตลาดน้อย 5.เขตบางคอแหลม ได้แก่ ชุมชนวัดบางโคล่นอก ชุมชนหน้าวัดอินทร์บรรจง ชุมชนซอยมาตานุสรณ์ และชุมชนหลังโรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์
6.เขตยานนาวา ได้แก่ ชุมชนโรงสี (ถนนพระราม 3) 7.เขตคลองเตย ได้แก่ ชุมชนสวนไทรริมคลองพระโขนง 8.เขตบางพลัด ได้แก่ ชุมชนวัดฉัตรแก้ว 9.เขตบางกอกน้อย ได้แก่ ชุมชนสันติชนสงเคราะห์ ชุมชนปากคลองน้ำตาล-คลองพิณพาทย์ ชุมชนตรอกวังหลัง และชุมชนดุสิต-นิมิตรใหม่ 10.เขตธนบุรี ได้แก่ ชุมชนปากคลองบางกอกใหญ่ 11.เขตคลองสาน ได้แก่ ชุมชนเจริญนครซอย 29/2 12.เขตราษฎร์บูรณะ ได้แก่ ชุมชนดาวคะนอง และ 13.เขตทวีวัฒนา ได้แก่ ชุมชนวัดปรุณาวาส
ทั้งนี้ กทม.ได้ เตรียมศูนย์อพยพจำนวน 23 ศูนย์อพยพ พร้อมจัดกำลังเจ้าหน้าที่รวมถึงนักสังคมสงเคราะห์คอยดูแล ประกอบด้วย 1.โรงเรียนวัดสร้อยทอง ประสานได้ที่ นายนพดล วรวิชา เบอร์โทรศัพท์ 083-425-8944 2.โรงเรียนมัชฌันติการาม 3.โรงเรียนวัดจันทรสโมสร ประสานได้ที่ ว่าที่รอ.ตรีทรงศร กัลยาสุนทร เบอร์โทรศัพท์ 086-060-2211 4.โรงเรียนวัดราชผาติการาม 5.โรงเรียนวัดเทวราชกุญธร 6.วัดอินทรวิหาร ประสานได้ที่ นายถวิล ทวีวัน เบอร์โทรศัพท์ 081-929-8622 7.วัดมหาธาตุ 8.โรงเรียนวัดพระเชตุพน 9.วัดปทุมคงคา ประสานได้ที่ นายสมบัติ พหุรวงษ์ เบอร์โทรศัพท์ 089-992-6329 10.โรงเรียนวัดจันทร์ใน ประสานได้ที่ นางพรพิมล ม่วงศรีจันทร์ เบอร์โทรศัพท์ 081-925-0383 11.โรงเรียนวัดลาดบัวขาว
12.โรงเรียนวัดบางโคล่นอก 13.โรงเรียนวัดจันทร์นอก 14.โรงเรียนวัดช่องลม ประสานได้ที่ นายมานะชัย กฤตอำไพ เบอร์โทรศัพท์ 086-335-9584 15.วัดสะพาน 16.โรงเรียนวัดฉัตรแก้วจงกลนี ประสานได้ที่ นางฤทธิพร ชัยสุรินทร์ เบอร์โทรศัพท์ 086-765-7889 17.โรงเรียนวัดดุสิต ประสานได้ที่ นางอริษา แสวงผล เบอร์โทรศัพท์ 081-643-2775 18.โรงเรียนมัธยมวัดดุสิต 19.โรงเรียนสตรีวัดระฆัง 20.โรงเรียนวัดกัลยาณมิตร ประสานได้ที่ นายยงยุทธ ศรัทธาธรรมกุล เบอร์โทรศัพท์ 081-820-8886 21.วัดเศวตฉัตร ประสานได้ที่ นายสุภกิจ สุรจินตนาภรณ์ เบอร์โทรศัพท์ 081-823-5534 22.โรงเรียนวัดบางปะกอก ประสานได้ที่ นายสมนึก การีมี เบอร์โทรศัพท์ 089-789-8390 และ 23.โรงเรียนวัดปุรณาวาส ประสานได้ที่ นายวิชาญ เหรียญวิไลรัตน์ เบอร์โทรศัพท์ 081-700-6968
สถานที่อพยพหนีน้ำท่วมต่างจังหวัด
จ.นครสวรรค์ 5 แห่ง ได้แก่ ร.ร.นครสวรรค์ 2, วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์, ร.ร.วัดคีรีวงค์, สนามกีฬากลางจังหวัด และ วิทยาเทคโนโลยีภาคเหนือ
จ.ลพบุรี 9 แห่ง ได้แก่ ศูนย์การบินทหารบก, กองบิน 2 กองพลทหารปืนใหญ่, ศูนย์การบินทหารปืนใหญ่, ศูนย์อำนวยการสร้างอาวุธศูนย์การอุตสาหกรรมป้องกันประเทศและพลังงานทหาร, หน่วยบัญชาการรบสงครามพิเศษ, กรมทหารราบที่ 31 รอ., ร.ร.ค่ายนารายณ์ศึกษาถายใต้หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ, รพ.อานันทมหิดล และที่พักชั่วคราวริม ถ.สายบ้านหมี่-บางงา (20 จุด)
จ.อุทัยธานี 5 จุด สนามกีฬากลาง, กองร้อย อส.จังหวัด, ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน, ร.ร.พุทธมณฑล และวัดสังกัสรัตนคีรี
จ.สิงห์บุรี เตรียมพื้นที่อพยพ 18 แห่ง ศาลาปึงเกงม่า, วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี แห่งที่ 2,ตลาดปากบาง, ตลาดวัดกุฎีทอง, ตลาดไม้ดัด, ตลาดชันณสูตร, เชิงกลัด, ร.ร.วัดพิกุลทอง, วิทยาลัยเทคนิค 2, วัดวิหารขาว, อนุบาลท่าช้าง, วัดสาธุ, วัดท่าข้าม, วัดโพธิ์ศรี, วัดสระบาป,วัดสิงห์, วัดพริก และวัดพิกุลทอง
จ.ชัยนาท เตรียมพื้นที่อพยพ 28 แห่ง ได้แก่ วัดธรรมามูลวรวิหาร, คันคลองชลประทานพหลโยธิน, ลานตากข้าว ต.เขาท่าพระ, วัดท่าช้าง, ถ.หางน้ำสาคร ,หลังโรงงาน EIKO ,วัดดักคะนน, ถ.สายชัยนาท-เขื่อน, ถ.สาย 340, ถ.ชัยนาท-ตาคลี ร.ร.ชัยนาทพิทยาคม 2, ถ.สาย 311 ชัยนาท-สิงห์บุรี, ถ.สายคันคลองมหาราช ,ถ.พหลโยธิน อ.สรรพยา ,สวนเฉลิมพระเกียรติ หน้าโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อน, ถ.บ้านเหลมหว้า, วัดเขาแก้ว, ถ.บ้านเขาดิน, วัดปากคลองมะขามเฒ่า, ร.ร.วัดสิงห์ สะพานคลองมอญ, เต็นท์ริมคลองอนุสาสนนันท์, เต็นท์ถนนสายริมน้ำเจ้าพระยา, วัดโคก-ท่าฉนวน, เต็นท์ริมถนน ท่าอู่-หางน้ำสาคร, ศาลาวัดพิกุลงาม,ศาลาวัดศรีมณีวรรณ, เต็นท์ริมคันคลองเขตเทศบาลคุ้งสำเภา, วัดทับขี้เหล็ก และบริเวณคันคลอง ต.วังไก่เถื่อน
จ.อ่างทอง เตรียมพื้นที่อพยพ 40 แห่ง (ไม่มีรายละเอียด) จ.พระนครศรีอยุธยา เตรียมศูนย์อพยพ 102 จุด ที่ศูนย์อพยพ 11 อำเภอ (ไม่มีรายละเอียด) ศาลากลาง จ.พระนครศรีอยุธยาและศูนย์อพยพฝั่งตรงข้ามศาลากลางจังหวัด
จ.สระบุรี 3 แห่ง คือ ค่ายอดิศร, กรมทหารม้าที่ 4 รักษาพระองค์ และ กรมทหารม้าที่ 5 รักษาพระองค์
จ.พระนครศรีอยุธยา 102 แห่ง เป็นศูนย์อพยพในพื้นที่ 11 อำเภอ, ศาลากลางจังหวัด และศูนย์อพยพประชาชนฝั่งตรงข้ามศาลากลางจังหวัด