รู้หรือไม่ว่าการเคี้ยวอาหารไม่ละเอียดส่งผลเสียต่อร่างกายได้ จะส่งผลเสียอย่างไรบ้างมาดูกัน
1.ผลกระทบต่อสมอง
การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียดจะทำให้สมองสั่งการต่อมน้ำลาย และต่อมใต้หูหลั่งฮอร์โมนออกมา ซึ่งฮอร์โมนมีส่วนช่วยในการพัฒนาสมองในความฉลาดของเรานั่นเอง
2.ผลกระทบต่อกระเพาะอาหาร
การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียดจะทำให้กระเพาะของเรารับหน้าที่ในการย่อยอาหารไปเต็มๆ ยิ่งพวกอาหารที่ย่อยยากๆ อย่างเนื้อสัตว์ หากเราเคี้ยวไม่ละเอียด เมื่อลงไปถึงกระเพาะ กระเพาะก็จะหลั่งกรด และมีการบีบตัวที่ค่อนข้างสูงกว่าปกติ เพื่อช่วยในการย่อยของเรา และจะทำให้เกิดอาการอาหารไม่ย่อย ซึ่งถ้าเราเคี้ยวอย่างละเอียด อาหารที่ลงไปในกระเพาะก็จะมีแค่เศษเล็กๆ น้อยๆ จะทำให้กรดในกระเพาะสามารถย่อยได้ง่ายขึ้น และหากเราเคี้ยวอาหารให้ละเอียดๆ จนถึงขนาดที่สามารถนับจำนวนครั้งในการเคี้ยวได้ จะส่งผลดีต่อร่างกายของเราอย่างมาก
อาการของอาหารไม่ย่อยเป็นความรู้สึกแรกหลังรับประทานอาหาร หากมีอาการเกิน 2 ชั่วโมง แสดงว่าคุณเป็นโรคอาหารไม่ย่อย อาการที่พบ ได้แก่
1. แน่นท้อง ท้องโต ไม่สบายตัว อึดอัด หรือต้องขยายเข็มขัด เพราะรู้สึกอิ่มมากเกินไป
2. ปวดท้อง จุกแน่น มวลท้อง และหายใจลำบาก
3. แสบร้อนท้อง คลื่นไส้ อาเจียน กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข
4. ท้องอืดนานหลายชั่วโมง นานกว่าจะหาย
5. มีแก๊ส แสบกลางอก แน่นหน้าอก และจุกอก
ประโยชน์ของการเคี้ยว ในแต่ละช่วงครั้ง
1. เคี้ยว 30 ครั้ง ช่วยให้เหงือกแข็งแรง ทำให้ใจเย็น และลดอาการหงุดหงิดได้
2. เคี้ยว 50 ครั้ง นอกจากช่วยลดอาการเจ้าอารมณ์ของเราได้แล้ว ยังช่วยลดความอ้วนได้อีกด้วย
3. เคี้ยว 100 ครั้ง ช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์ และจัดการปัญหาต่างๆ ได้อย่างใจเย็น แถมยังช่วยลดการกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์ ไม่ให้กินเกินความจำเป็นได้อีกด้วย
4. เคี้ยว 200 ครั้ง ทำให้ไม่เป็นโรคกระเพาะอาหารเรื้องรัง และโรคแผลในกระเพาะอาหาร
ข่าวโดย : เพ็ญญาเรีย บุญประเสริฐ
1.ผลกระทบต่อสมอง
การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียดจะทำให้สมองสั่งการต่อมน้ำลาย และต่อมใต้หูหลั่งฮอร์โมนออกมา ซึ่งฮอร์โมนมีส่วนช่วยในการพัฒนาสมองในความฉลาดของเรานั่นเอง
2.ผลกระทบต่อกระเพาะอาหาร
การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียดจะทำให้กระเพาะของเรารับหน้าที่ในการย่อยอาหารไปเต็มๆ ยิ่งพวกอาหารที่ย่อยยากๆ อย่างเนื้อสัตว์ หากเราเคี้ยวไม่ละเอียด เมื่อลงไปถึงกระเพาะ กระเพาะก็จะหลั่งกรด และมีการบีบตัวที่ค่อนข้างสูงกว่าปกติ เพื่อช่วยในการย่อยของเรา และจะทำให้เกิดอาการอาหารไม่ย่อย ซึ่งถ้าเราเคี้ยวอย่างละเอียด อาหารที่ลงไปในกระเพาะก็จะมีแค่เศษเล็กๆ น้อยๆ จะทำให้กรดในกระเพาะสามารถย่อยได้ง่ายขึ้น และหากเราเคี้ยวอาหารให้ละเอียดๆ จนถึงขนาดที่สามารถนับจำนวนครั้งในการเคี้ยวได้ จะส่งผลดีต่อร่างกายของเราอย่างมาก
อาการของอาหารไม่ย่อยเป็นความรู้สึกแรกหลังรับประทานอาหาร หากมีอาการเกิน 2 ชั่วโมง แสดงว่าคุณเป็นโรคอาหารไม่ย่อย อาการที่พบ ได้แก่
1. แน่นท้อง ท้องโต ไม่สบายตัว อึดอัด หรือต้องขยายเข็มขัด เพราะรู้สึกอิ่มมากเกินไป
2. ปวดท้อง จุกแน่น มวลท้อง และหายใจลำบาก
3. แสบร้อนท้อง คลื่นไส้ อาเจียน กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข
4. ท้องอืดนานหลายชั่วโมง นานกว่าจะหาย
5. มีแก๊ส แสบกลางอก แน่นหน้าอก และจุกอก
ประโยชน์ของการเคี้ยว ในแต่ละช่วงครั้ง
1. เคี้ยว 30 ครั้ง ช่วยให้เหงือกแข็งแรง ทำให้ใจเย็น และลดอาการหงุดหงิดได้
2. เคี้ยว 50 ครั้ง นอกจากช่วยลดอาการเจ้าอารมณ์ของเราได้แล้ว ยังช่วยลดความอ้วนได้อีกด้วย
3. เคี้ยว 100 ครั้ง ช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์ และจัดการปัญหาต่างๆ ได้อย่างใจเย็น แถมยังช่วยลดการกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์ ไม่ให้กินเกินความจำเป็นได้อีกด้วย
4. เคี้ยว 200 ครั้ง ทำให้ไม่เป็นโรคกระเพาะอาหารเรื้องรัง และโรคแผลในกระเพาะอาหาร
ข่าวโดย : เพ็ญญาเรีย บุญประเสริฐ