เอเจนซีส์ – งานศึกษาล่าสุดพบการสวดมนตร์ทำให้คนเรารับมือกับความโกรธและความก้าวร้าวของตัวเองได้ดีขึ้น
แบรด บุชแมน จากมหาวิทยาลัยโอไฮโอ ผู้ร่วมจัดทำรายงาน กล่าวว่าคนมักใช้วิธีสวดมนตร์ภาวนาเพื่อเผชิญสถานการณ์ติดลบด้านอารมณ์ รวมถึงเมื่อโกรธ
“เราพบว่าการสวดมนตร์ช่วยให้คนรับมือกับความโกรธได้ดีขึ้น อาจเป็นเพราะช่วยให้คนๆ นั้นเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อสิ่งที่ทำให้โกรธ”
ศาสตราจารย์บุชแมนเสริมว่า นี่เป็นโครงการแรกที่มีการศึกษาผลจากการสวดมนตร์ต่อความโกรธและความก้าวร้าว
ในการศึกษาซึ่งมีการทดลองเป็น 2 แบบ แบบแรกนักศึกษาอเมริกันต้องทำแบบสอบถามเพื่อวัดระดับอารมณ์ ก่อนเขียนเรียงความเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ทำให้รู้สึกโกรธมาก
หลังจากนั้น นักศึกษาจะได้รับการบอกเล่าว่าเรียงความที่เขียนขึ้นมานั้นจะนำไปให้คู่ทำวิจัยซึ่งไม่เคยรู้จักกันมาก่อนประเมิน
แต่ในความจริง คู่ทำวิจัยไม่มีจริง และนักศึกษาทุกคนได้รับการประเมินแบบเดียวกันที่ยั่วยุอารมณ์โกรธและก้าวร้าว ซึ่งรวมถึงข้อความว่า ‘นี่เป็นหนึ่งในเรียงความที่แย่ที่สุดเท่าที่เคยอ่านมา’
หลังจากยั่วยุอารมณ์นักศึกษาแล้ว นักวิจัยจะขอให้นักศึกษาอ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นเรื่องของนักศึกษาที่ชื่อ มอรีน ที่ป่วยเป็นมะเร็งประเภทที่ไม่พบบ่อยนัก และขอให้จินตนาการว่ามอรีนรู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้นและโรคร้ายนั้นมีผลกับชีวิตของเธออย่างไร
จากนั้น นักศึกษาจะถูกสุ่มเพื่อมอบหมายให้สวดมนตร์ให้มอรีน 5 นาที หรือเพียงแค่คิดถึงเธอ
ขั้นต่อมาคือ การตรวจวัดระดับอารมณ์ของนักศึกษารอบที่ 2 ซึ่งปรากฏว่าระดับความโกรธเพิ่มขึ้นในกลุ่มที่ถูกยั่วยุ แต่คนที่สวดมนตร์ให้มอรีนพบว่ามีความโกรธน้อยกว่าคนที่คิดถึงเธอเพียงอย่างเดียวแต่ไม่ได้สวดมนตร์ให้
ในการทดลองแบบที่สอง นักศึกษาต้องเขียนเรียงความ โดยที่ครึ่งหนึ่งเขียนถึงเรื่องที่รบกวนจิตใจและถูกวิจารณ์เพื่อยั่วให้โมโหเหมือนเดิม ส่วนอีกกลุ่มเขียนเรื่องราวทั่วไปและได้รับคำวิจารณ์แง่บวก
จากนั้น นักศึกษาจะถูกขอให้สวดมนตร์ให้คู่ของตน 5 นาที
สุดท้าย นักศึกษาต้องทำภารกิจชนิดต้องแข่งขันเรื่องเวลากับ “คู่ที่มองไม่เห็น”
หากชนะ นักศึกษาจะสามารถตะคอก “คู่ทำวิจัย” ดังๆ ผ่านหูฟังได้ โดยเลือกได้ตามใจชอบว่าจะตะโกนดังและนานแค่ไหน
นักวิจัยพบว่า นักศึกษาที่ถูกยั่วโมโหก้าวร้าวกว่ากลุ่มที่ไม่ถูกยั่ว และกลุ่มที่สวดมนตร์ให้คู่ของตนแสดงความก้าวร้าวน้อยกว่า
“ผลลัพธ์ที่เราพบบ่งชี้ว่า การสวดมนตร์ภาวนามีผลต่อการระงับความโกรธและความก้าวร้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ”
อนึ่ง งานวิจัยนี้เผยแพร่อยู่ในวารสารเอเจนซีส์ – งานศึกษาล่าสุดพบการสวดมนตร์ทำให้คนเรารับมือกับความโกรธและความก้าวร้าวของตัวเองได้ดีขึ้น
แบรด บุชแมน จากมหาวิทยาลัยโอไฮโอ ผู้ร่วมจัดทำรายงาน กล่าวว่าคนมักใช้วิธีสวดมนตร์ภาวนาเพื่อเผชิญสถานการณ์ติดลบด้านอารมณ์ รวมถึงเมื่อโกรธ
“เราพบว่าการสวดมนตร์ช่วยให้คนรับมือกับความโกรธได้ดีขึ้น อาจเป็นเพราะช่วยให้คนๆ นั้นเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อสิ่งที่ทำให้โกรธ”
ศาสตราจารย์บุชแมนเสริมว่า นี่เป็นโครงการแรกที่มีการศึกษาผลจากการสวดมนตร์ต่อความโกรธและความก้าวร้าว
ในการศึกษาซึ่งมีการทดลองเป็น 2 แบบ แบบแรกนักศึกษาอเมริกันต้องทำแบบสอบถามเพื่อวัดระดับอารมณ์ ก่อนเขียนเรียงความเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ทำให้รู้สึกโกรธมาก
หลังจากนั้น นักศึกษาจะได้รับการบอกเล่าว่าเรียงความที่เขียนขึ้นมานั้นจะนำไปให้คู่ทำวิจัยซึ่งไม่เคยรู้จักกันมาก่อนประเมิน
แต่ในความจริง คู่ทำวิจัยไม่มีจริง และนักศึกษาทุกคนได้รับการประเมินแบบเดียวกันที่ยั่วยุอารมณ์โกรธและก้าวร้าว ซึ่งรวมถึงข้อความว่า ‘นี่เป็นหนึ่งในเรียงความที่แย่ที่สุดเท่าที่เคยอ่านมา’
หลังจากยั่วยุอารมณ์นักศึกษาแล้ว นักวิจัยจะขอให้นักศึกษาอ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นเรื่องของนักศึกษาที่ชื่อ มอรีน ที่ป่วยเป็นมะเร็งประเภทที่ไม่พบบ่อยนัก และขอให้จินตนาการว่ามอรีนรู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้นและโรคร้ายนั้นมีผลกับชีวิตของเธออย่างไร
จากนั้น นักศึกษาจะถูกสุ่มเพื่อมอบหมายให้สวดมนตร์ให้มอรีน 5 นาที หรือเพียงแค่คิดถึงเธอ
ขั้นต่อมาคือ การตรวจวัดระดับอารมณ์ของนักศึกษารอบที่ 2 ซึ่งปรากฏว่าระดับความโกรธเพิ่มขึ้นในกลุ่มที่ถูกยั่วยุ แต่คนที่สวดมนตร์ให้มอรีนพบว่ามีความโกรธน้อยกว่าคนที่คิดถึงเธอเพียงอย่างเดียวแต่ไม่ได้สวดมนตร์ให้
ในการทดลองแบบที่สอง นักศึกษาต้องเขียนเรียงความ โดยที่ครึ่งหนึ่งเขียนถึงเรื่องที่รบกวนจิตใจและถูกวิจารณ์เพื่อยั่วให้โมโหเหมือนเดิม ส่วนอีกกลุ่มเขียนเรื่องราวทั่วไปและได้รับคำวิจารณ์แง่บวก
จากนั้น นักศึกษาจะถูกขอให้สวดมนตร์ให้คู่ของตน 5 นาที
สุดท้าย นักศึกษาต้องทำภารกิจชนิดต้องแข่งขันเรื่องเวลากับ “คู่ที่มองไม่เห็น”
หากชนะ นักศึกษาจะสามารถตะคอก “คู่ทำวิจัย” ดังๆ ผ่านหูฟังได้ โดยเลือกได้ตามใจชอบว่าจะตะโกนดังและนานแค่ไหน
นักวิจัยพบว่า นักศึกษาที่ถูกยั่วโมโหก้าวร้าวกว่ากลุ่มที่ไม่ถูกยั่ว และกลุ่มที่สวดมนตร์ให้คู่ของตนแสดงความก้าวร้าวน้อยกว่า
“ผลลัพธ์ที่เราพบบ่งชี้ว่า การสวดมนตร์ภาวนามีผลต่อการระงับความโกรธและความก้าวร้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ”
อนึ่ง งานวิจัยนี้เผยแพร่อยู่ในวารสารเพอร์ซันแนลลิตี แอนด์ โซเชียล ไซโคโลจี้ บุลเลทินฉบับออนไลน์
แบรด บุชแมน จากมหาวิทยาลัยโอไฮโอ ผู้ร่วมจัดทำรายงาน กล่าวว่าคนมักใช้วิธีสวดมนตร์ภาวนาเพื่อเผชิญสถานการณ์ติดลบด้านอารมณ์ รวมถึงเมื่อโกรธ
“เราพบว่าการสวดมนตร์ช่วยให้คนรับมือกับความโกรธได้ดีขึ้น อาจเป็นเพราะช่วยให้คนๆ นั้นเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อสิ่งที่ทำให้โกรธ”
ศาสตราจารย์บุชแมนเสริมว่า นี่เป็นโครงการแรกที่มีการศึกษาผลจากการสวดมนตร์ต่อความโกรธและความก้าวร้าว
ในการศึกษาซึ่งมีการทดลองเป็น 2 แบบ แบบแรกนักศึกษาอเมริกันต้องทำแบบสอบถามเพื่อวัดระดับอารมณ์ ก่อนเขียนเรียงความเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ทำให้รู้สึกโกรธมาก
หลังจากนั้น นักศึกษาจะได้รับการบอกเล่าว่าเรียงความที่เขียนขึ้นมานั้นจะนำไปให้คู่ทำวิจัยซึ่งไม่เคยรู้จักกันมาก่อนประเมิน
แต่ในความจริง คู่ทำวิจัยไม่มีจริง และนักศึกษาทุกคนได้รับการประเมินแบบเดียวกันที่ยั่วยุอารมณ์โกรธและก้าวร้าว ซึ่งรวมถึงข้อความว่า ‘นี่เป็นหนึ่งในเรียงความที่แย่ที่สุดเท่าที่เคยอ่านมา’
หลังจากยั่วยุอารมณ์นักศึกษาแล้ว นักวิจัยจะขอให้นักศึกษาอ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นเรื่องของนักศึกษาที่ชื่อ มอรีน ที่ป่วยเป็นมะเร็งประเภทที่ไม่พบบ่อยนัก และขอให้จินตนาการว่ามอรีนรู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้นและโรคร้ายนั้นมีผลกับชีวิตของเธออย่างไร
จากนั้น นักศึกษาจะถูกสุ่มเพื่อมอบหมายให้สวดมนตร์ให้มอรีน 5 นาที หรือเพียงแค่คิดถึงเธอ
ขั้นต่อมาคือ การตรวจวัดระดับอารมณ์ของนักศึกษารอบที่ 2 ซึ่งปรากฏว่าระดับความโกรธเพิ่มขึ้นในกลุ่มที่ถูกยั่วยุ แต่คนที่สวดมนตร์ให้มอรีนพบว่ามีความโกรธน้อยกว่าคนที่คิดถึงเธอเพียงอย่างเดียวแต่ไม่ได้สวดมนตร์ให้
ในการทดลองแบบที่สอง นักศึกษาต้องเขียนเรียงความ โดยที่ครึ่งหนึ่งเขียนถึงเรื่องที่รบกวนจิตใจและถูกวิจารณ์เพื่อยั่วให้โมโหเหมือนเดิม ส่วนอีกกลุ่มเขียนเรื่องราวทั่วไปและได้รับคำวิจารณ์แง่บวก
จากนั้น นักศึกษาจะถูกขอให้สวดมนตร์ให้คู่ของตน 5 นาที
สุดท้าย นักศึกษาต้องทำภารกิจชนิดต้องแข่งขันเรื่องเวลากับ “คู่ที่มองไม่เห็น”
หากชนะ นักศึกษาจะสามารถตะคอก “คู่ทำวิจัย” ดังๆ ผ่านหูฟังได้ โดยเลือกได้ตามใจชอบว่าจะตะโกนดังและนานแค่ไหน
นักวิจัยพบว่า นักศึกษาที่ถูกยั่วโมโหก้าวร้าวกว่ากลุ่มที่ไม่ถูกยั่ว และกลุ่มที่สวดมนตร์ให้คู่ของตนแสดงความก้าวร้าวน้อยกว่า
“ผลลัพธ์ที่เราพบบ่งชี้ว่า การสวดมนตร์ภาวนามีผลต่อการระงับความโกรธและความก้าวร้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ”
อนึ่ง งานวิจัยนี้เผยแพร่อยู่ในวารสารเอเจนซีส์ – งานศึกษาล่าสุดพบการสวดมนตร์ทำให้คนเรารับมือกับความโกรธและความก้าวร้าวของตัวเองได้ดีขึ้น
แบรด บุชแมน จากมหาวิทยาลัยโอไฮโอ ผู้ร่วมจัดทำรายงาน กล่าวว่าคนมักใช้วิธีสวดมนตร์ภาวนาเพื่อเผชิญสถานการณ์ติดลบด้านอารมณ์ รวมถึงเมื่อโกรธ
“เราพบว่าการสวดมนตร์ช่วยให้คนรับมือกับความโกรธได้ดีขึ้น อาจเป็นเพราะช่วยให้คนๆ นั้นเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อสิ่งที่ทำให้โกรธ”
ศาสตราจารย์บุชแมนเสริมว่า นี่เป็นโครงการแรกที่มีการศึกษาผลจากการสวดมนตร์ต่อความโกรธและความก้าวร้าว
ในการศึกษาซึ่งมีการทดลองเป็น 2 แบบ แบบแรกนักศึกษาอเมริกันต้องทำแบบสอบถามเพื่อวัดระดับอารมณ์ ก่อนเขียนเรียงความเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ทำให้รู้สึกโกรธมาก
หลังจากนั้น นักศึกษาจะได้รับการบอกเล่าว่าเรียงความที่เขียนขึ้นมานั้นจะนำไปให้คู่ทำวิจัยซึ่งไม่เคยรู้จักกันมาก่อนประเมิน
แต่ในความจริง คู่ทำวิจัยไม่มีจริง และนักศึกษาทุกคนได้รับการประเมินแบบเดียวกันที่ยั่วยุอารมณ์โกรธและก้าวร้าว ซึ่งรวมถึงข้อความว่า ‘นี่เป็นหนึ่งในเรียงความที่แย่ที่สุดเท่าที่เคยอ่านมา’
หลังจากยั่วยุอารมณ์นักศึกษาแล้ว นักวิจัยจะขอให้นักศึกษาอ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นเรื่องของนักศึกษาที่ชื่อ มอรีน ที่ป่วยเป็นมะเร็งประเภทที่ไม่พบบ่อยนัก และขอให้จินตนาการว่ามอรีนรู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้นและโรคร้ายนั้นมีผลกับชีวิตของเธออย่างไร
จากนั้น นักศึกษาจะถูกสุ่มเพื่อมอบหมายให้สวดมนตร์ให้มอรีน 5 นาที หรือเพียงแค่คิดถึงเธอ
ขั้นต่อมาคือ การตรวจวัดระดับอารมณ์ของนักศึกษารอบที่ 2 ซึ่งปรากฏว่าระดับความโกรธเพิ่มขึ้นในกลุ่มที่ถูกยั่วยุ แต่คนที่สวดมนตร์ให้มอรีนพบว่ามีความโกรธน้อยกว่าคนที่คิดถึงเธอเพียงอย่างเดียวแต่ไม่ได้สวดมนตร์ให้
ในการทดลองแบบที่สอง นักศึกษาต้องเขียนเรียงความ โดยที่ครึ่งหนึ่งเขียนถึงเรื่องที่รบกวนจิตใจและถูกวิจารณ์เพื่อยั่วให้โมโหเหมือนเดิม ส่วนอีกกลุ่มเขียนเรื่องราวทั่วไปและได้รับคำวิจารณ์แง่บวก
จากนั้น นักศึกษาจะถูกขอให้สวดมนตร์ให้คู่ของตน 5 นาที
สุดท้าย นักศึกษาต้องทำภารกิจชนิดต้องแข่งขันเรื่องเวลากับ “คู่ที่มองไม่เห็น”
หากชนะ นักศึกษาจะสามารถตะคอก “คู่ทำวิจัย” ดังๆ ผ่านหูฟังได้ โดยเลือกได้ตามใจชอบว่าจะตะโกนดังและนานแค่ไหน
นักวิจัยพบว่า นักศึกษาที่ถูกยั่วโมโหก้าวร้าวกว่ากลุ่มที่ไม่ถูกยั่ว และกลุ่มที่สวดมนตร์ให้คู่ของตนแสดงความก้าวร้าวน้อยกว่า
“ผลลัพธ์ที่เราพบบ่งชี้ว่า การสวดมนตร์ภาวนามีผลต่อการระงับความโกรธและความก้าวร้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ”
อนึ่ง งานวิจัยนี้เผยแพร่อยู่ในวารสารเพอร์ซันแนลลิตี แอนด์ โซเชียล ไซโคโลจี้ บุลเลทินฉบับออนไลน์