ในการประชุม ครม.วันนี้( 2 ต.ค.) กระทรวงแรงงานได้เสนอให้ครม. พิจารณาปรับอัตราค่าจ้าง ของลูกจ้างรัฐ
วิสาหกิจ โดยเสนอให้รัฐวิสาหกิจ 13 แห่ง ที่ครม.เคยมีมติให้สามารถกำหนดอัตราเงินเดือนค่าจ้าง ค่าตอบแทนและสวัสดิการ
ต่างๆ เองได้ ตาม มาตรา 13 (2) แห่งพ.ร.บ.แรงงานวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 โดยเป็นอำนาจของรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่ง เป็นผู้
พิจารณา นอกจากนี้ ให้รัฐวิสาหกิจ 39 แห่ง ที่ใช้บัญชีโครงสร้างอัตราเงินเดือนค่าจ้าง 58 ขั้น ตามประกาศคณะกรรมการรัฐ
วิสาหกิจสัมพันธ์ให้ปรับค่าจ้างของลูกจ้างทุกตำแหน่งในอัตรา 4% ของอัตราค่าจ้างที่เคยได้รับ ยกเว้นตำแหน่งผู้บริหาร ซึ่งใช้
สัญญาจ้าตาม พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐาน สำหรับกรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2543 และลูกจ้าระดับผู้
บังคับบัญชา ซึ่งใช้สัญญาจ้างที่มีระยะเวลาที่กำหนดไว้ แต่ให้ปรับได้ไม่เกิน 4% ของอัตราค่าจ้างที่ได้รับ ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.50
เป็นต้นไป โดยใช้เงินงบประมาณของรัฐวิสาหกิจนั้น
ส่วนรัฐวิสาหกิจ จำนวน 14 แห่ง ที่ใช้บัญชีโครงสร้างอัตราเงินเดือนค่าจ้างเป็นของตนเอง ให้คณะกรรมการพิจารณา
ปรับค่าจ้างของลูกจ้างทุกตำแหน่งในอัตราไม่เกิน 4% ของอัตราค้าจ้างที่เคยได้รับ ยกเว้น ตำแหน่งผู้บริหาร ซึ่งใช้สัญญาจ้าง
ตามพ.ร.บ.คุณสมบัติมาตรฐาน สำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2543 และลูกจ้าระดับผู้บังคับบัญชา ซึ่ง
ใช้สัญญาจ้างที่มีระยะเวลาที่กำหนดไว้ โดยใช้เงินงบประมาณของรัฐวิสาหกิจเอง ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.50 เป็นต้นไป กรณีที่มีการ
ปรับค่าจ้างอัตราใดเกินอัตราขั้นสูงสุดให้ถือว่าอัตรานั้นเป็นอัตราขั้นสูงสุดด้วย
อย่างไรก็ตามครม.มีมติเมื่อ วันที่ 15 มิ.ย. 50 เห็นชอบในแนวทางการปรับปรุงค่าตอบแทนในภาคราชการ โดยใน
ระยะเร่งด่วนให้ปรับอัตราเงินเดือน 4% เท่ากันทุกตำแหน่ง สำหรับข้าราชการพลเรือน ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้า
ราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการตุลาการ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ข้า
ราชการอัยการ ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ข้าราชการการเมือง ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐอื่นๆ
วิสาหกิจ โดยเสนอให้รัฐวิสาหกิจ 13 แห่ง ที่ครม.เคยมีมติให้สามารถกำหนดอัตราเงินเดือนค่าจ้าง ค่าตอบแทนและสวัสดิการ
ต่างๆ เองได้ ตาม มาตรา 13 (2) แห่งพ.ร.บ.แรงงานวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 โดยเป็นอำนาจของรัฐวิสาหกิจแต่ละแห่ง เป็นผู้
พิจารณา นอกจากนี้ ให้รัฐวิสาหกิจ 39 แห่ง ที่ใช้บัญชีโครงสร้างอัตราเงินเดือนค่าจ้าง 58 ขั้น ตามประกาศคณะกรรมการรัฐ
วิสาหกิจสัมพันธ์ให้ปรับค่าจ้างของลูกจ้างทุกตำแหน่งในอัตรา 4% ของอัตราค่าจ้างที่เคยได้รับ ยกเว้นตำแหน่งผู้บริหาร ซึ่งใช้
สัญญาจ้าตาม พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐาน สำหรับกรรมการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2543 และลูกจ้าระดับผู้
บังคับบัญชา ซึ่งใช้สัญญาจ้างที่มีระยะเวลาที่กำหนดไว้ แต่ให้ปรับได้ไม่เกิน 4% ของอัตราค่าจ้างที่ได้รับ ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.50
เป็นต้นไป โดยใช้เงินงบประมาณของรัฐวิสาหกิจนั้น
ส่วนรัฐวิสาหกิจ จำนวน 14 แห่ง ที่ใช้บัญชีโครงสร้างอัตราเงินเดือนค่าจ้างเป็นของตนเอง ให้คณะกรรมการพิจารณา
ปรับค่าจ้างของลูกจ้างทุกตำแหน่งในอัตราไม่เกิน 4% ของอัตราค้าจ้างที่เคยได้รับ ยกเว้น ตำแหน่งผู้บริหาร ซึ่งใช้สัญญาจ้าง
ตามพ.ร.บ.คุณสมบัติมาตรฐาน สำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2543 และลูกจ้าระดับผู้บังคับบัญชา ซึ่ง
ใช้สัญญาจ้างที่มีระยะเวลาที่กำหนดไว้ โดยใช้เงินงบประมาณของรัฐวิสาหกิจเอง ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.50 เป็นต้นไป กรณีที่มีการ
ปรับค่าจ้างอัตราใดเกินอัตราขั้นสูงสุดให้ถือว่าอัตรานั้นเป็นอัตราขั้นสูงสุดด้วย
อย่างไรก็ตามครม.มีมติเมื่อ วันที่ 15 มิ.ย. 50 เห็นชอบในแนวทางการปรับปรุงค่าตอบแทนในภาคราชการ โดยใน
ระยะเร่งด่วนให้ปรับอัตราเงินเดือน 4% เท่ากันทุกตำแหน่ง สำหรับข้าราชการพลเรือน ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้า
ราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการตุลาการ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ข้า
ราชการอัยการ ข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมือง ข้าราชการการเมือง ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐอื่นๆ