สวนดุสิตโพล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เปิดเผยผลสำรวจความคิดเห็นของประชาชนจำนวน 1,309 คน จากทั่วประเทศ ที่ใช้และเคยใช้ "มาตรการช่วยเหลือของรัฐในช่วงโควิด-19" สรุปผลได้ดังนี้
1. ในช่วงครึ่งปีหลัง (2564) ประชาชนได้เข้าร่วมมาตรการ/โครงการของภาครัฐใดบ้าง
อันดับ 1 ร้อยละ 78.61 ระบุ มาตรการคนละครึ่งเฟส 3 (ก.ค. - ธ.ค. 64)
อันดับ 2 ร้อยละ 34.76 ระบุ มาตรการลดค่าไฟฟ้า น้ำประปา
อันดับ 3 ร้อยละ 29.79 ระบุ มาตรการช่วยผู้ปกครอง 2,000 บาท
อันดับ 4 ร้อยละ 25.82 ระบุ มาตรการเยียวยาผู้ประกันตน ม.33/ม.39/ม.40 ในพื้นที่จังหวัดสีแดงเข้ม
อันดับ 5 ร้อยละ 22.46 ระบุ มาตรการลดค่าเทอม นักเรียน/นักศึกษา
2. ประชาชนคิดว่ามาตรการใด/โครงการต่างๆ ของภาครัฐ ช่วยลดภาระเรื่องค่าใช้จ่ายได้หรือไม่
ร้อยละ 62.10 ระบุ ช่วยได้บ้าง
ร้อยละ 31.39 ระบุ ช่วยได้มาก
ร้อยละ 6.51 ระบุ ไม่ช่วยเลย
3. เปรียบเทียบก่อนกับหลังมีมาตรการ/โครงการช่วยเหลือต่างๆ ของภาครัฐ การใช้จ่ายของประชาชนต่อเดือนเป็นอย่างไร
ร้อยละ 43.45 ระบุ ใช้จ่ายเท่าเดิม
ร้อยละ 36.70 ระบุ ใช้จ่ายลดลง
ร้อยละ 19.85 ระบุ ใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
4. โดยภาพรวมประชาชนพึงพอใจมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐมากน้อยเพียงใด
ร้อยละ 49.81 ระบุ ค่อนข้างพึงพอใจ
ร้อยละ 22.84 ระบุ พึงพอใจมาก
ร้อยละ 18.77 ระบุ ไม่ค่อยพึงพอใจ
ร้อยละ 8.58 ระบุ เฉยๆ
5. "5 อันดับมาตรการ/โครงการ" ของภาครัฐที่ประชาชนพึงพอใจ
อันดับ 1 ร้อยละ 78.66 ระบุ มาตรการคนละครึ่งเฟส 3 (ก.ค. - ธ.ค. 64)
อันดับ 2 ร้อยละ 76.70 ระบุ มาตรการลดค่าไฟฟ้า น้ำประปา
อันดับ 3 ร้อยละ 74.85 ระบุ มาตรการช่วยผู้ปกครอง 2,000 บาท
อันดับ 4 ร้อยละ 73.73 ระบุ มาตรการลดค่าเทอมนักเรียน/นักศึกษา
อันดับ 5 ร้อยละ 71.74 ระบุ มาตรการเยียวยาผู้ประกันตน ม.33/ม.39/ม.40 ในพื้นที่จังหวัดสีแดงเข้ม
6. นอกจากมาตรการต่างๆ ที่ดำเนินการไปแล้ว ประชาชนคิดว่ารัฐบาลควรมีมาตรการเร่งด่วนใดอีกบ้าง
อันดับ 1 ร้อยละ 75.25 ระบุ ควบคุมราคาสินค้าและค่าครองชีพ
อันดับ 2 ร้อยละ 70.61 ระบุ ลดค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าน้ำมัน
อันดับ 3 ร้อยละ 58.16 ระบุ หาแนวทางแก้ปัญหาหนี้สิน
อันดับ 4 ร้อยละ 54.52 ระบุ จ่ายเงินเยียวยาทุกครัวเรือนอย่างเท่าเทียม
อันดับ 5 ร้อยละ 51.20 ระบุ พักชำระหนี้
1. ในช่วงครึ่งปีหลัง (2564) ประชาชนได้เข้าร่วมมาตรการ/โครงการของภาครัฐใดบ้าง
อันดับ 1 ร้อยละ 78.61 ระบุ มาตรการคนละครึ่งเฟส 3 (ก.ค. - ธ.ค. 64)
อันดับ 2 ร้อยละ 34.76 ระบุ มาตรการลดค่าไฟฟ้า น้ำประปา
อันดับ 3 ร้อยละ 29.79 ระบุ มาตรการช่วยผู้ปกครอง 2,000 บาท
อันดับ 4 ร้อยละ 25.82 ระบุ มาตรการเยียวยาผู้ประกันตน ม.33/ม.39/ม.40 ในพื้นที่จังหวัดสีแดงเข้ม
อันดับ 5 ร้อยละ 22.46 ระบุ มาตรการลดค่าเทอม นักเรียน/นักศึกษา
2. ประชาชนคิดว่ามาตรการใด/โครงการต่างๆ ของภาครัฐ ช่วยลดภาระเรื่องค่าใช้จ่ายได้หรือไม่
ร้อยละ 62.10 ระบุ ช่วยได้บ้าง
ร้อยละ 31.39 ระบุ ช่วยได้มาก
ร้อยละ 6.51 ระบุ ไม่ช่วยเลย
3. เปรียบเทียบก่อนกับหลังมีมาตรการ/โครงการช่วยเหลือต่างๆ ของภาครัฐ การใช้จ่ายของประชาชนต่อเดือนเป็นอย่างไร
ร้อยละ 43.45 ระบุ ใช้จ่ายเท่าเดิม
ร้อยละ 36.70 ระบุ ใช้จ่ายลดลง
ร้อยละ 19.85 ระบุ ใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
4. โดยภาพรวมประชาชนพึงพอใจมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐมากน้อยเพียงใด
ร้อยละ 49.81 ระบุ ค่อนข้างพึงพอใจ
ร้อยละ 22.84 ระบุ พึงพอใจมาก
ร้อยละ 18.77 ระบุ ไม่ค่อยพึงพอใจ
ร้อยละ 8.58 ระบุ เฉยๆ
5. "5 อันดับมาตรการ/โครงการ" ของภาครัฐที่ประชาชนพึงพอใจ
อันดับ 1 ร้อยละ 78.66 ระบุ มาตรการคนละครึ่งเฟส 3 (ก.ค. - ธ.ค. 64)
อันดับ 2 ร้อยละ 76.70 ระบุ มาตรการลดค่าไฟฟ้า น้ำประปา
อันดับ 3 ร้อยละ 74.85 ระบุ มาตรการช่วยผู้ปกครอง 2,000 บาท
อันดับ 4 ร้อยละ 73.73 ระบุ มาตรการลดค่าเทอมนักเรียน/นักศึกษา
อันดับ 5 ร้อยละ 71.74 ระบุ มาตรการเยียวยาผู้ประกันตน ม.33/ม.39/ม.40 ในพื้นที่จังหวัดสีแดงเข้ม
6. นอกจากมาตรการต่างๆ ที่ดำเนินการไปแล้ว ประชาชนคิดว่ารัฐบาลควรมีมาตรการเร่งด่วนใดอีกบ้าง
อันดับ 1 ร้อยละ 75.25 ระบุ ควบคุมราคาสินค้าและค่าครองชีพ
อันดับ 2 ร้อยละ 70.61 ระบุ ลดค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าน้ำมัน
อันดับ 3 ร้อยละ 58.16 ระบุ หาแนวทางแก้ปัญหาหนี้สิน
อันดับ 4 ร้อยละ 54.52 ระบุ จ่ายเงินเยียวยาทุกครัวเรือนอย่างเท่าเทียม
อันดับ 5 ร้อยละ 51.20 ระบุ พักชำระหนี้