ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์เฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha ระบุว่า ความคิดของเข็มหนึ่งและเข็มสองไม่เหมือนกันคนละยี่ห้อ
หรือเข็ม 1 และ 2 ห่างกันนานๆ เป็นตรรกะปนๆกันทั้งทางวิทยาศาสตร์และจากความอัตคัดของวัคซีน แต่ยอมรับได้
แต่ทั้งนี้ เมื่อไวรัสมีความเพี้ยน การฉีดห่างกันเกินไป อาจทำให้หลุด มีติดเชื้อได้ทำให้ ต่างประเทศ ต้องบีบ เข็มสอง เข้าใกล้กับเข็มแรก
ส่วนเข็มที่สาม เป็นแนวคิดที่จะจับตัวไวรัสที่เพี้ยนไป โดยถ้าการเพี้ยนไม่มาก การเพิ่มระดับภูมิคุ้มกันในน้ำเหลืองสูงๆหวังว่าจะจับแน่นขึ้น
แต่อาจใช้ไม่ได้ผลเต็มที่ถ้ากลไกเป็นการหลบหลีกหนีของไวรัสอย่างสมบูรณ์แบบ immune evasiveness
ทั้งนี้ ยังหวังกันว่า วัคซีนทุกชนิดนั้น ตามที่มีข้อมูลมาเรื่อยๆ ถึงแม้ภูมิในน้ำเหลืองจะตกลง แต่ระดับเซลล์ยังคงอยู่และสามารถลุกขึ้นมาต่อสู้ได้ทันทีถ้าเชื้อเข้ามา
แต่ทั้งนี้ เมื่อไวรัสมีความเพี้ยน การฉีดห่างกันเกินไป อาจทำให้หลุด มีติดเชื้อได้ทำให้ ต่างประเทศ ต้องบีบ เข็มสอง เข้าใกล้กับเข็มแรก
ส่วนเข็มที่สาม เป็นแนวคิดที่จะจับตัวไวรัสที่เพี้ยนไป โดยถ้าการเพี้ยนไม่มาก การเพิ่มระดับภูมิคุ้มกันในน้ำเหลืองสูงๆหวังว่าจะจับแน่นขึ้น
แต่อาจใช้ไม่ได้ผลเต็มที่ถ้ากลไกเป็นการหลบหลีกหนีของไวรัสอย่างสมบูรณ์แบบ immune evasiveness
ทั้งนี้ ยังหวังกันว่า วัคซีนทุกชนิดนั้น ตามที่มีข้อมูลมาเรื่อยๆ ถึงแม้ภูมิในน้ำเหลืองจะตกลง แต่ระดับเซลล์ยังคงอยู่และสามารถลุกขึ้นมาต่อสู้ได้ทันทีถ้าเชื้อเข้ามา