xs
xsm
sm
md
lg

แบงก์ชาติปฏิรูปการกำกับสถาบันการเงิน

เผยแพร่:   โดย: MGR Online


แบงก์ชาติเปิดมิติใหม่ปฏิรูปการกำกับสถาบันการเงิน ให้สอดคล้องแบะทันต่อสถานการณ์ นำร่องของการทาธุรกรรมเงินตราต่างประเทศ อนุมัติ 5 ราย Qualified Company ระบุครึ่งปีหลังจะปรับปรุงการกำกับดูแลเข้าสู้ดิจิตอล ให้สอดคล้องการทำธุรกิจสถาบันการเงินและลูกค้าเอสเอ็มอีมากขึ้น

นายวิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยว่า ธปท.ได้ทีการปฏิรูปการกำกับดูแลสถาบันการเงินอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ การดำเนินธุรกิจของสถาบันการเงินมากขึ้น ธปท.จะมีการปฏิรูปอีก 2 โครงการ คือ 1.การปฏิรูปการกำกับดูแลสถาบันการเงิน เพื่อให้สอดรับสถานการณ์ปัจจุบันที่เข้าสู่ยุคดิติทอลแบงก์กิ้ง โดยจะเชิญสถาบันการเงินเข้ามาหารือถึงรายละเอียดและกฏเกรฑ์ของแต่ละแห่ง เพื่อเอื้อต่อลูกค้า ผู้ประกอบการ รวมถึงลดต้นทุนของสถาบันการเงินด้วย

2.กฏเกณฑ์การปล่อยสินเชื่อ ธุรกิจเอสเอ็มอีที่ผ่านมาทีขั้นตอนแบะต้นทุนที่สูง ที่งเรื่องเอกสาร หลักทรัพย์ค่ำประกันต่างๆ ที่ต้องมีขั้นตอนการตรวจสอบม่กมาก เพื่อแ่องกันความเสี่ยง ซึ่งธปท.จะเข้าไปทบทวนกฏระเบียบและขั้นตอนต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน แบะมีความรัดกุมป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สำหรับครึ่งหลังของปี 2561 จะเข้าสู่ระยะที่สองของการปฏิรูปกฎเกณฑ์ควบคุมการแลกเปลี่ยน เงิน ซึ่งจะมุ่งเน้นที่กลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) และบุคคลรายย่อยให้สามารถบริหาร จัดการเงินตราต่างประเทศมีประสิทธิภาพและคล่องตัวมากขึ้น เช่น การปรับปรุงหลักเกณฑ์และลดเอกสาร ประกอบการทาธุรกรรม การรวมประเภทบัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ (Foreign Currency Deposits - FCD) ซึ่ง

ปัจจุบันมีอยู่หลายประเภทเข้าด้วยกัน และการผ่อนคลายการลงทุนในหลักทรัพย์ต่างประเทศโดย ไม่ผ่านตัวแทนการลงทุน นอกจากนี้ ยังจะได้ผ่อนคลายหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจรับแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และธุรกิจโอนเงินระหว่างประเทศ ทั้งในด้านคุณสมบัติและรูปแบบการให้บริการ เพื่อ รองรับการให้บริการรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์มากยิ่งขึ้น และเพิ่มทางเลือกในการทาธุรกรรมเงินตรา ต่างประเทศ ซึ่ง ธปท. จะได้นาเสนอแผนการผ่อนคลายเหล่านี้ต่อกระทรวงการคลังเพื่อพิจารณาต่อไป

ธปท. ได้เริ่ม โครงการการปฏิรูปและผ่อนคลายกฎเกณฑ์การควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน (FX Regulations Reform) ตั้งแต่กลางปี 2560 โดยเริ่มจากเพิ่มทางเลือกซื้อขายและโอนเงินรายย่อย เพิ่มทางเลือกในการลงทุน ต่างประเทศให้แก่นักลงทุนไทย ปรับลดเอกสารการโอนเงินออกนอกประเทศ ยกเลิกการกรอกแบบการทา ธุรกรรมเงินตราต่างประเทศ และเพิ่มทางเลือกให้ลูกค้าสามารถยื่นเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ ซึ่ง ช่วยลดขั้นตอนการเตรียมเอกสาร ลดต้นทุน และลดระยะเวลาในการทาธุรกรรมเงินตราต่างประเทศ รวมทั้ง สนับสนุนให้การทาธุรกรรมเงิน
ตราต่างประเทศของภาคเอกชนสะดวกรวดเร็วมากขึ้น (Ease of doing business)

การปฏิรูปที่สาคัญอีกด้าน ซึ่งถือเป็นมิติใหม่ของการทาธุรกรรมเงินตราต่างประเทศ คือ การ อนุญาตให้บริษัทและกลุ่มบริษัทที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนด (Qualified Company) สามารถทาธุรกรรม เงินตราต่างประเทศกับธนาคารพาณิชย์ได้ โดยไม่ต้องแสดงเอกสารประกอบการทาธุรกรรมหลายรายการ เช่น ใบกากับสินค้า สัญญาเงินกู้ หรือหลักฐานแสดงภาระอื่น ๆ ซึ่ง Qualified Company จะต้องมีนโยบาย การกากับดูแล และการตรวจสอบการทาธุรกรรมเงินตราต่างประเทศที่รัดกุมจากผู้บริหารระดับสูงของบริษัท โดย ธปท. จะติดตามพฤติกรรมการทาธุรกรรมของ
Qualified Company ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytic) แทนการพิจารณารายรายการ

ธปท.เห็นชอบให้บริษัท 5 ราย เป็น Qualified Company และให้มีศูนย์บริหาร เงิน (Treasury Center) 1 ราย ขยายขอบเขตการทาธุรกรรมเงินตราต่างประเทศให้ครอบคลุมสิทธิที่ Qualified Company ได้ด้วย ซึ่งจะสามารถทาธุรกรรมเงินตราต่างประเทศได้กว้างกว่าขอบเขตที่ Treasury Center ได้รับในปัจจุบัน จึงถือได้ว่าเป็นการเริ่มต้นมิติใหม่ของการทาธุรกรรมเงินตราต่างประเทศของ ภาคเอกชนไทย

ธปท. เล็งเห็นประโยชน์และความสนใจของภาคเอกชนต่อโครงการนี้ ธปท. จึงขยายช่วงเวลายื่นขอ ความเห็นชอบออกไปจนถึงวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561 และปรับเปลี่ยนเกณฑ์คุณสมบัติให้สอดคล้องกับรูปแบบ การดาเนินธุรกิจของทั้งบริษัทไทยและบริษัทข้ามชาติที่ประกอบธุรกิจในประเทศไทยมากยิ่งขึ้น โดย ธปท. จะ ติดตามผลของโครงการ และจะพิจารณาขยายการผ่อนคลายดังกล่าวให้ครอบคลุมถึงผู้ประกอบธุรกิจในวงที่ กว้างขึ้นต่อไป

นอกจากนี้ นางสาววชิรา อารมย์ดี ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายตลาดการเงิน ธปท. ได้เปิดเผยรายชื่อบริษัท ที่ได้รับความเห็นชอบจาก ธปท. ภายใต้

โครงการ Qualified Company เป็นกลุ่มแรก จานวน 5 บริษัท และ ศูนย์บริหารเงิน 1 ราย ได้แก่
1. บริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน)
2. บริษัทเอ็นเอ็มบี-มินีแบไทยจากัด
3. บ ริษัท โ คเวส โ ตร (ประเทศไทย) จ ากัด
4. บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จากัด
5. บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จากัด (มหาชน)
6. บริษัท มิตรผล เทรชเชอรี่ เซ็นเตอร์ จากัด
โดยกล่าวว่า ธปท. จะกากับดูแล Qualified Company โดยการวิเคราะห์ความสอดคล้องของการทาธุรกรรม เงินตราต่างประเทศกับแผนธุรกิและนโยบายบริหารความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยนของ Qualified Company หากพบความไม่สอดคล้อง ธปท. จะมีการหารือกับบริษัท และพิจารณาทบทวนการให้ความเห็นชอบเป็น Qualified Company แก่บริษัทนั้น ๆ ตามความเหมาะสม

สาหรับรายละเอียดการผ่อนคลายเกณฑ์คุณสมบัติของบริษัทและกลุ่มบริษัทที่สามารถยื่นขอความ เห็นชอบเป็น Qualified Company ต่อ ธปท. มีรายละเอียดสรุปได้ ดังนี้

(1) ผ่อนคลายคุณสมบัติของบริษัทและกลุ่มบริษัทด้านปริมาณธุรกรรมการค้าการลงทุนระหว่าง ประเทศและธุรกรรมทางการเงินระหว่างประเทศอื่น ๆ ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมารวมกัน จากไม่น้อยกว่า 3,000 ล้าน ดอลลาร์ สรอ. เป็น 1,500 ล้านดอลลาร์ สรอ. หรือเทียบเท่า

(2) ยกเลิกข้อกาหนดการทาธุรกรรมที่แต่เดิมบริษัทต้องมีวัตถุประสงค์


กำลังโหลดความคิดเห็น