สตช.เสนอขออนุมัติร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ต่อที่ประชุม ครม.ในส่วนกองบัญชาการสอบสวนกลางและขยายอำนาจการผู้กระทำผิดใน 3 กองบังคับการ ตำรวจน้ำ ค้ามนุษย์ และการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
วันนี้ (19 พ.ค.) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตช.) เสนอขออนุมัติร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการเป็นกองบังคับการ หรือส่วนราชการอย่างอื่นในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ฉบับที่...) พ.ศ…. และให้ส่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยรับความเห็นของสำนักงาน ก.พ.ร.ไปประกอบการพิจารณาด้วย แล้วดำเนินการต่อไปได้รวมทั้งให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติรับความเห็นของกระทรวงการคลัง และสำนักงบประมาณไปพิจารณาดำเนินการต่อไป
สาระสำคัญของร่างกฎกระทรวงแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการเป็นกองบังคับการหรือส่วนราชการอย่างอื่นในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ดังนี้ กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 ร่างกฎกระทรวงฯ ที่เสนอข้อ 2 ให้แบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
(1) สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ แบ่งเป็นดังต่อไปนี้
1.1 ส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ ฯลฯ (13)
กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลางแบ่งเป็นดังต่อไปนี้ (ฉ) กองบังคับการตำรวจน้ำ ประกอบด้วย (1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(4) กองกำกับการ 1-3(5)-(12) กองกำกับการ 4-11(13) กลุ่มงานเรือตรวจการณ์ขนาด 110-180 ฟุต ฯลฯ
ร่างข้อ 1 ให้แบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
(1) สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ แบ่งเป็นดังต่อไปนี้
1.1 ส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ ฯลฯ (13) กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลางแบ่งเป็นดังต่อไปนี้
(ฉ) กองบังคับการตำรวจน้ำ ประกอบด้วย (1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(4) กองกำกับ 1-3 (5)-(13) กองกำกับการ 4-12 (14) กลุ่มงานเรือตรวจการณ์ขนาด 110-180 ฟุต ฯลฯ
กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 ร่างกฎกระทรวงฯ ที่เสนอ (ซ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ ประกอบด้วย
(1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(7) กองกำกับการ 1-6
(8) กลุ่มงานสอบสวน ฯลฯ (ญ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติชอบในวงราชการ ประกอบด้วย (1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(7) กองกำกับการ 1-6(8) กลุ่มงานสอบสวน
ข้อ 3 ส่วนราการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (12) กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง แบ่งเป็นดังต่อไปนี้ (ก) กองบังคับการอำนวยการ มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ ฯลฯ (ซ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1) รักษาความสงบเรียบร้อยป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับการค้ามนุษย์ทั่วราชอาณาจักร
2) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดอาญาเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ รวมทั้งความผิดเกี่ยวกับแรงงานและการจัดระเบียบสังคม และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
3) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ฯลฯ
(ซ) กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ ประกอบด้วย
(1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(7) กองกำกับการ 1-6
(8) กลุ่มงานสอบสวน ฯลฯ
(ญ) กองบังคับการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประกอบด้วย
(1) ฝ่ายอำนวยการ
(2)-(7) กองกำกับการ 1-6
(8) กลุ่มงานสอบสวน
ร่างข้อ 2 ส่วนราชการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(12) กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง แบ่งเป็นดังต่อไปนี้ (ก) กองบังคับการอำนวยการ มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ (ซ) กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1) รักษาความสงบเรียบร้อยป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับการค้ามนุษย์ทั่วราชอาณาจักร
2) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดอาญาเกี่ยวกับการค้ามนุษย์/การกระทำผิดต่อเด็ก เยาวชน และสตรีตลอดจนความผิดเกี่ยวกับแรงงานและการจัดระเบียบสังคม และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
3) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ฯลฯ
กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 ร่างกฎกระทรวงฯ ที่เสนอ (ญ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
1) รักษาความสงบเรียบร้อย ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั่วราชอาณาจักร
2) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือการทุจริตในวงราชการ และความผิดว่าด้วยการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐหรือในวงราชการและความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
3) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ฯลฯ
(ญ) กองบังคับการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1) รักษาความสงบเรียบร้อย ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั่วราชอาณาจักร
2) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือการทุจริตในวงราชการ และความผิดว่าด้วยการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐหรือในวงราชการและความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
3) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ฯลฯ
วันนี้ (19 พ.ค.) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตช.) เสนอขออนุมัติร่างกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการเป็นกองบังคับการ หรือส่วนราชการอย่างอื่นในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ฉบับที่...) พ.ศ…. และให้ส่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา โดยรับความเห็นของสำนักงาน ก.พ.ร.ไปประกอบการพิจารณาด้วย แล้วดำเนินการต่อไปได้รวมทั้งให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติรับความเห็นของกระทรวงการคลัง และสำนักงบประมาณไปพิจารณาดำเนินการต่อไป
สาระสำคัญของร่างกฎกระทรวงแก้ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการเป็นกองบังคับการหรือส่วนราชการอย่างอื่นในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ดังนี้ กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 ร่างกฎกระทรวงฯ ที่เสนอข้อ 2 ให้แบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
(1) สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ แบ่งเป็นดังต่อไปนี้
1.1 ส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ ฯลฯ (13)
กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลางแบ่งเป็นดังต่อไปนี้ (ฉ) กองบังคับการตำรวจน้ำ ประกอบด้วย (1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(4) กองกำกับการ 1-3(5)-(12) กองกำกับการ 4-11(13) กลุ่มงานเรือตรวจการณ์ขนาด 110-180 ฟุต ฯลฯ
ร่างข้อ 1 ให้แบ่งส่วนราชการสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ดังต่อไปนี้
(1) สำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ แบ่งเป็นดังต่อไปนี้
1.1 ส่วนราชการที่มีฐานะเทียบเท่ากองบัญชาการ ฯลฯ (13) กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลางแบ่งเป็นดังต่อไปนี้
(ฉ) กองบังคับการตำรวจน้ำ ประกอบด้วย (1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(4) กองกำกับ 1-3 (5)-(13) กองกำกับการ 4-12 (14) กลุ่มงานเรือตรวจการณ์ขนาด 110-180 ฟุต ฯลฯ
กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 ร่างกฎกระทรวงฯ ที่เสนอ (ซ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ ประกอบด้วย
(1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(7) กองกำกับการ 1-6
(8) กลุ่มงานสอบสวน ฯลฯ (ญ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติชอบในวงราชการ ประกอบด้วย (1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(7) กองกำกับการ 1-6(8) กลุ่มงานสอบสวน
ข้อ 3 ส่วนราการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (12) กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง แบ่งเป็นดังต่อไปนี้ (ก) กองบังคับการอำนวยการ มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ ฯลฯ (ซ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1) รักษาความสงบเรียบร้อยป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับการค้ามนุษย์ทั่วราชอาณาจักร
2) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดอาญาเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ รวมทั้งความผิดเกี่ยวกับแรงงานและการจัดระเบียบสังคม และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
3) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ฯลฯ
(ซ) กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ ประกอบด้วย
(1) ฝ่ายอำนวยการ (2)-(7) กองกำกับการ 1-6
(8) กลุ่มงานสอบสวน ฯลฯ
(ญ) กองบังคับการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประกอบด้วย
(1) ฝ่ายอำนวยการ
(2)-(7) กองกำกับการ 1-6
(8) กลุ่มงานสอบสวน
ร่างข้อ 2 ส่วนราชการในสำนักงานตำรวจแห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(12) กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง แบ่งเป็นดังต่อไปนี้ (ก) กองบังคับการอำนวยการ มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ (ซ) กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1) รักษาความสงบเรียบร้อยป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับการค้ามนุษย์ทั่วราชอาณาจักร
2) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดอาญาเกี่ยวกับการค้ามนุษย์/การกระทำผิดต่อเด็ก เยาวชน และสตรีตลอดจนความผิดเกี่ยวกับแรงงานและการจัดระเบียบสังคม และความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
3) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ฯลฯ
กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2552 ร่างกฎกระทรวงฯ ที่เสนอ (ญ) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการมีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
1) รักษาความสงบเรียบร้อย ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั่วราชอาณาจักร
2) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือการทุจริตในวงราชการ และความผิดว่าด้วยการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐหรือในวงราชการและความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
3) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ฯลฯ
(ญ) กองบังคับการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1) รักษาความสงบเรียบร้อย ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมที่เกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการทั่วราชอาณาจักร
2) ปฏิบัติงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและตามกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาเกี่ยวกับการทุจริตของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือการทุจริตในวงราชการ และความผิดว่าด้วยการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐหรือในวงราชการและความผิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง
3) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ฯลฯ