xs
xsm
sm
md
lg

เลิกสูบ

บุหรี่ไฟฟ้าส่อเค้าทำให้เกิดโรคถุงลมปอดพองเร็วกว่าบุหรี่มวน
บุหรี่ไฟฟ้าส่อเค้าทำให้เกิดโรคถุงลมปอดพองเร็วกว่าบุหรี่มวน
 
เมื่อวันที่ 20 มี.ค. 2567 ศ.นพ. ประกิต วาทีสาธกกิจ แพทย์โรคระบบทางเดินหายใจ และประธานมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ เปิดเผยงานวิจัยที่ติดตามคนที่สูบบุหรี่ไฟฟ้าต่อเนื่องเป็นเวลา 5 ปี พบทำให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินหายใจ โรคถุง
 

ชุมชน-คุณภาพชีวิต

อย.นำ "เม็ดไซทิซีน" เข้าสู่บัญชียาหลักฯ หวังให้ผู้เลิกสูบฯ เข้าถึงง่ายขึ้น
 
นพ.วิทิต สฤษฎีชัยกุล รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ระบุว่า โรคมะเร็งปอด เป็น 1 ใน 5 ของมะเร็งที่พบบ่อยในคนไทย โดยสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการสูบบุหรี่ ซึ่งผู้ที่สูบบุหรี่มีความเสี่ยงเป็นโรคมะเร็งปอด มากกว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ 2
 

ทันเหตุการณ์

อย.บรรจุ "ยาไซทิซีน" รักษษาติดนิโคติน เข้าบัญชียาหลักฯ ปลดเหลือ "ยาอันตราย" ขายในร้านยา-เบิกจ่ายค่ารักษาได้
อย.บรรจุ "ยาไซทิซีน" รักษษาติดนิโคติน เข้าบัญชียาหลักฯ ปลดเหลือ "ยาอันตราย" ขายในร้านยา-เบิกจ่ายค่ารักษาได้
 
อย.เพิ่ม ยาไซทิซีน ช่วยเลิกบุหรี่ เข้าบัญชียาหลักแห่งชาติ ใช้รักษาภาวะติดนิโคติน มีความปลอดภัยสูง ผลข้างเคียงน้อย ราคาไม่แพง อนุมัติทะเบียนตำรับยาของ อภ.พร้อมปลดล็อกจากยาควบคุมพิเศษ เป้นยาอันตราย ช่วยขายในร้านยาและเบิกจ่ายในระบบ
 

ชุมชน-คุณภาพชีวิต

หมอสมองเผยภาพเอกซรย์ชวนอึ้ง! สมองอาม่า 90 ปี กับคนสูบบุหรี่วันละซอง อายุแค่ 66 ปี (ชมคลิป)
หมอสมองเผยภาพเอกซรย์ชวนอึ้ง! สมองอาม่า 90 ปี กับคนสูบบุหรี่วันละซอง อายุแค่ 66 ปี (ชมคลิป)
 
หมอประชา เผยเคส 2 ผู้ป่วยล้มหัวกระแทก ต้องสแกนสมอง ไม่มีเลือดออกในสมองแต่ภาพเอกซรย์ชวนอึ้ง อาม่าวัย 90 ปี กับคนสูบบุหรี่วันละซอง อายุแค่ 66 ปี ความจำแย่มาก เผยเมียหวังความจำเสื่อมทำให้ลืมสูบบุหรี่ เคยขอเลิกสูบบอกเลิกกับเมียดีกว่า
 

Online Section

กรมการแพทย์แนะหลัก 4 ล. เลิกบุหรี่ได้ด้วยตนเอง
 
เพจกรมการแพทย์ โพสต์ระบุว่า การเลิกสูบบุหรี่ทุกชนิดจึงเป็นวิธีการที่ดีสุดที่จะทำให้ผู้สูบมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น มีหลายวิธีขึ้นอยู่กับระดับการติดนิโคตินและความตั้งใจที่จะเลิก มีทั้งการรักษาด้วยบุคลากรวิชาชีพสุขภาพ โดยให้คำปรึกษาร
 

ทันเหตุการณ์

ข่าวปลอม! สูบบุหรี่ไฟฟ้าช่วยให้เลิกบุหรี่ได้
 
จากกรณีที่มีการแนะนำระบุว่าสูบบุหรี่ไฟฟ้าช่วยให้เลิกบุหรี่ได้ ทางสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี (สบยช.) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ตรวจสอบแล้วพบว่าทั้งในบุหรี่มวนและบุหรี่ไฟฟ้า มีสารนิโคตินเหมือนกัน
 

ทันเหตุการณ์