xs
xsm
sm
md
lg

วิทยาการข้อมูล

ทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ตอนที่ ๒๒ : ทำไมจึงต้องแก้ไข พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ในปี ๒๕๖๑
ทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ตอนที่ ๒๒ : ทำไมจึงต้องแก้ไข พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ในปี ๒๕๖๑
พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ. ๒๕๖๐ ตราออกมาใช้แทน พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ.๒๔๙๑ ที่ใช้มาเกือบ ๗๐ ปี แต่กลับมีการตรา พ.ร.บ.จัดระเบียบทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ พ.ศ.๒๕๖๑ มาใช้แทนในปีถัดมาหรือประกาศใช้เ
วิทยาการข้อมูลในรัฐศาสตร์แบบสากล
วิทยาการข้อมูลในรัฐศาสตร์แบบสากล
เมื่อ ดร. ถวิลวดี บุรีกุล จากสถาบันพระปกเกล้า ชวนไป conference ของ International Political Science Association ผมก็ลองดูว่ามีอะไรที่ตัวเองได้ทำงานวิจัยไว้และพอจะไปได้บ้าง ซึ่งก็มีพอสมควร แม้ผมจะไม่ได้จบมาทางรัฐศาสตร์โดยตรง Conference ของทางรัฐศาสตร์ที่ใหญ่สุดของโลกมีสองอันคือ APSA และ IPSA ซึ่งที่ผมไปคือ IPSA
วิทยาการข้อมูล (Data Science) จะพัฒนากองทัพไทยได้อย่างไร
วิทยาการข้อมูล (Data Science) จะพัฒนากองทัพไทยได้อย่างไร
หลายสัปดาห์ก่อนคณาจารย์ด้านทางคณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และวิศวกรรมศาสตร์แห่งโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า หรือ โรงเรียนนายร้อย จปร.. จำนวน 4 ท่านได้กรุณามานัดพบกับผมที่ร้านอาหารในห้างสรรพสินค้าในกรุงเทพ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัยด้านวิทยาการข้อมูล (Data Science) และข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) ที่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า และผมได้ไปช่วยสอนซึ่งอันที่จริงเป็นการไปแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้กับคณาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถสูงมากจำนวน 10 กว่าท่านที่เขาชะโงก จังหวัดนครนายก
ถึงเวลา “รื้อปรับการเรียนการสอนสถิติศาสตร์เพื่อประเทศไทย” ก่อนจะเสียหายไปมากกว่านี้
ถึงเวลา “รื้อปรับการเรียนการสอนสถิติศาสตร์เพื่อประเทศไทย” ก่อนจะเสียหายไปมากกว่านี้
ในช่วงสองถึงสามปีที่ผ่านมาสถิติศาสตร์ศึกษาหรือการเรียนการสอนทางสถิติศาสตร์มีปัญหาและความท้าทายหลายประการ ประการแรก ปัญหาของระบบสถิติทางการของประเทศมีปัญหาหนักมาก ดังที่สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศไทย ได้ศึกษาและนำเสนอแนวทางการปฏิรูประบบสถิติแห่งชาติเพื่อการบริหารราชการแผ่นดินและการบริการประชาชน ซึ่งในรายงานได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า ระบบสถิติของประเทศไทยมีปัญหา
“ความล่มสลาย” และ “ทางรอด” ของสถิติศาสตร์
“ความล่มสลาย” และ “ทางรอด” ของสถิติศาสตร์
โลกสมัยใหม่ทำให้เกิดระบบลงทะเบียน (Registration-based) ซึ่งแม้แต่การสำมะโนประชากรในประเทศที่พัฒนาแล้วบางประเทศก็ไม่มีความจำเป็นต้องใช้การสำรวจด้วยตัวอย่างอีกต่อไป รัฐบาลอังกฤษกำลังพัฒนาให้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) มาแทนที่การทำสำมะโนภายในปี 2030 หรืออีก 14 ปีข้างหน้าอย่างสมบูรณ์
ศาสตร์พระราชาแห่งวิทยาการข้อมูล
ศาสตร์พระราชาแห่งวิทยาการข้อมูล
วิทยาการข้อมูล (Data science) เป็นศาสตร์ใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้นไม่นานนี้ โดยเป็นบูรณาการแห่งสถิติศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และความรู้ในศาสตร์อื่นๆ เพื่อนำข้อมูลมาสร้างองค์ความรู้ที่นำไปสู่การปฏิบัติหรือนโยบายในศาสตร์สาขานั้นๆ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงมีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ และทรงใช้ข้อมูล ตรวจสอบข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำมาสู่การพัฒนาประเทศทรงปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยามเป็นพระราชปณิธานสูงสุดตลอดรัชสมัย
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สาม (The Third Industrial Revolution) โดย ปัญญาประดิษฐ์ วิทยาการข้อมูล และอินเทอร์เน็ตแห่งสรรพสิ่ง
การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สาม เริ่มมีคนพูดถึงคำนี้เป็นครั้งแรกในหนังสือ The Third Industrial Revolution; How Lateral Power is Transforming Energy, the Economy, and the World แต่งโดย Jeremy Rifkin ตีพิมพ์จำหน่ายในปี 2011 โดยมีความเห็นว่าพลังงานไฟฟ้าทางเลือกที่นำกลับมาใช้ได้อีก (Renewable Electricity) จะเปลี่ยนโลกไปอย่างสิ้นเชิง