xs
xsm
sm
md
lg

ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

E=mc2รู้จักกันดี แต่ส่วนใหญ่ไม่รู้มีประโยชน์อะไร
E=mc2รู้จักกันดี แต่ส่วนใหญ่ไม่รู้มีประโยชน์อะไร
“ศึกษาเรื่องนี้ไป แล้วได้ประโยชน์อะไร?” ประโยคบาดหัวใจที่นักวิทยาศาสตร์ทั้งรุ่นเก่าและรุ่นใหม่ต่างได้รับ โดยเฉพาะนักวิจัยวิทยาศาสตร์พื้นฐานแบบลึกซึ้งสุดแก่น ทั้งที่เป็นกลุ่มคนทำงานหนักเพื่อปิดทองหลังพระให้กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ไม่เว้นแม้กระทั่ง “ไอน์สไตน์” ที่ 100 ปีก่อนได้ค้นพบ “ทฤษฎีสัมพัทธภาพ”อันลือลั่นที่ดูเหมือนจะหาประโยชน์ไม่ได้ในสมัยนั้น แต่กลับเป็นคุณอนันต์ในปัจจุบันนี้
หนึ่งศตวรรษของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป
หนึ่งศตวรรษของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป
ในปี 1905 Albert Einstein วัย 26 ปี ได้นำเสนอบทความวิจัย 3 เรื่องหลักซึ่งทำให้วงการฟิสิกส์งุนงง นั่นคือ ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ทฤษฎีการเคลื่อนที่แบบบราวน์ของอนุภาค และทฤษฎีสมบัติอนุภาคของแสง โดยในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษนั้น Einstein ได้ปรับเปลี่ยนทฤษฎีกลศาสตร์ของ Galileo และ Newton เพื่อให้สามารถนำไปใช้ได้กับทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของ Maxwell จนได้พบว่าเอกภพต้องมี 4 มิติคือ 3 มิติของระยะทางและ 1 มิติของเวลา เพื่อให้สามารถอธิบายปรากฎการณ์ด้านกายภาพได้อย่างสมบูรณ์
เช็ก “ทฤษฎีสัมพัทธภาพ” ก้าวแรกเป็นไปตาม “ไอน์สไตน์” ทำนาย
เช็ก “ทฤษฎีสัมพัทธภาพ” ก้าวแรกเป็นไปตาม “ไอน์สไตน์” ทำนาย
บีบีซีนิวส์/นิวไซแอนทิสต์/เรดออร์บิท/ฟิสิกส์เว็บ – ปฏิบัติการ “นาซา” ส่งยานวัดค่าแรงโน้มพิสูจน์ “ทฤษฎีสัมพัทธภาพ” เผยกาล-อวกาศโค้งงอเนื่องจากมวลเป็นไปตามที่ “ไอน์สไตน์” พยากรณ์ไว้ แต่ต้องรอข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ที่ละเอียดปลายปีนี้หลังจากยานวัดความโน้
2 ธ.ค.ครบรอบ 89 ปี “สัมพัทธภาพทั่วไป” พิมพ์ลงหนังสือสู่สายตาชาวโลก
2 ธ.ค.ครบรอบ 89 ปี “สัมพัทธภาพทั่วไป” พิมพ์ลงหนังสือสู่สายตาชาวโลก
ครบรอบ 89 ปี ตีพิมพ์ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ทฤษฎีแรงโน้มถ่วงฉบับไอน์สไตน์ การปรากฏโฉมของทฤษฎีใหม่ในขณะนั้น พลิกความเข้าใจเดิมๆ เกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงที่นิวตันเคยสร้างทฤษฎีไว้ ไม่เป็นเพียงแรงที่แบนราบ แต่เป็นส่วนโค้ง รวมทั้งเปลี่ยนความเข้าใจ “กาล-อวกาศ” และยัง