xs
xsm
sm
md
lg

ดาวอังคารใกล้โลก

8 ธันวาคม “ดาวอังคาร” โคจรอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ แต่ไม่ใช่ตำแหน่งใกล้โลกที่สุด
8 ธันวาคม “ดาวอังคาร” โคจรอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ แต่ไม่ใช่ตำแหน่งใกล้โลกที่สุด
8 ธันวาคม 2565 “ดาวอังคาร” จะมีการโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ โดยตำแหน่งดวงอาทิตย์ โลก และดาวอังคารจะเรียงตัวอยู่ในเส้นเดียวกัน ลังจากดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า ดาวอังคารจะปรากฏสว่างมากทางทิศตะวันออก มีสีส้มแดง และสว่างเด่นชัด
ทำความรู้จัก “ดาวอังคาร” เพื่อนบ้านสีแดง ในช่วงที่โคจรใกล้โลกที่สุด และอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ในรอบปี
ทำความรู้จัก “ดาวอังคาร” เพื่อนบ้านสีแดง ในช่วงที่โคจรใกล้โลกที่สุด และอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ในรอบปี
ในช่วงต้นเดือนธันวาคมนี้ “ดาวอังคาร” ดาวเคราะห์บริวารลำดับที่ 4 ของดวงอาทิตย์ จะมีการโคจรอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้โลกมากที่สุด ในวันที่ 1 ธันวาคม โดยมีระยะห่างจากโลกประมาณ 81.5 ล้านกิโลเมตร และยัง โคจรมาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์
ประชาชนแห่ชม “ดาวอังคารใกล้โลก” อย่างคึกคัก เมื่อคืน (6 ต.ค.) ก่อนถอยห่างจากโลกหลัง 14 ต.ค.นี้
ประชาชนแห่ชม “ดาวอังคารใกล้โลก” อย่างคึกคัก เมื่อคืน (6 ต.ค.) ก่อนถอยห่างจากโลกหลัง 14 ต.ค.นี้
ประชาชนแห่ชมดาวอังคารผ่านกล้องโทรทรรศน์ บริเวณอุทยานดาราศาสตร์สิรินธร เมื่อคืน 6 ต.ค. จากนั้นจะโคจรอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ วันที่ 14 ต.ค.นี้ อีกทั้งท้องฟ้าเป็นใจให้เห็นดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์อย่างชัดเจน
สดร.ชวนจับตาดาวอังคารใกล้โลกและอยู่ตรงข้ามดวงอาทิตย์ 6 และ 14 ต.ค.
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ชวนจับตา “ดาวอังคารใกล้โลกที่สุด” 6 ตุลาคม 2563 และ “ดาวอังคารอยู่ตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์” 14 ตุลาคม 2563 ปรากฏสีส้มแดงสว่างเด่น