xs
xsm
sm
md
lg

ชุมคน-ชุมชน-คนใต้

เสือดำ การอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และการเป็นอภิสิทธิ์ชน / ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์
เสือดำ การอุปถัมภ์ อำนาจนิยม และการเป็นอภิสิทธิ์ชน / ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์
การเปิดพื้นที่ทางสังคมและการสร้างสังคมแบบเปิด ที่ทำให้ผู้คน พลเมืองเข้ามาแสดงพลังบทบาทได้อย่างเต็มที่เท่านั้น ที่จะเป็นความหวังของการทำให้วัฒนธรรมอุปถัมภ์ อำนาจ และการเป็นอภิสิทธิ์ชน หมดความสำคัญลงไป ทำให้สังคมการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยเป็นจริงได้ “สังคมที่ก้าวหน้า คือ สังคมที่ให้คุณค่ากับความพลเมือง พลเมืองที่ก้าวหน้า คือ พลเมืองที่กระตือรือร้นต่อการเปลี่ยนแปลงและการลงแรงสร้างประชาธิปไตย”
จากปรากฏการณ์ตื่นตูน (Toon Effect) ถึงปฏิบัติการสร้าง “หลา-กลาง” ประชาสังคมภาคใต้ (ตอนที่ 3 จบ)
จากปรากฏการณ์ตื่นตูน (Toon Effect) ถึงปฏิบัติการสร้าง “หลา-กลาง” ประชาสังคมภาคใต้ (ตอนที่ 3 จบ)
แม้ว่าเส้นทางการสร้างพื้นที่กลางจะเพิ่งเริ่มต้น แต่ถือเป็นก้าวย่างที่น่าจับตา มีความสำคัญและจำเป็นยิ่งในสถานการณ์ของการรุกไล่ประชิดในทุกทิศทางจากอำนาจต่างๆ ทั้งที่มองเห็น/ไม่เห็น ซ่อนเร้น อำพราง การปิดบัง ทำลายเครือข่ายภาคประชาสังคมจากรัฐและทุน พื้นที่กลางที่เปิดกว้าง การมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ มีอิสระ เสรี ขยายพื้นที่-สนามที่กว้างออกไปเรื่อยๆ การสร้างวาทกรรมใหม่ด้วยชุดปฏิบัติการร่วม คือ ความหวังของการปกป้องปักษ์ใต้ที่ควบคู่ๆ ไปกับสร้างสังคมการเมืองที่เป็นประชาธิปไตยในความหมายที่แท้จริง และเป็นอย่างที่ผู้นำท่านหนึ่งในที่ประชุมพื้นกลางว่าไว้ “เราต้องจัดการตนเอง ก่อนที่จะถูกจัดการ”
“ชูตูนเพื่อเตือนตู่” : จากปรากฏการณ์ “ตื่นตูน” ถึงปฏิบัติการสร้าง “หลา-กลาง” ประชาสังคมภาคใต้ (ตอนที่ 2)
“ชูตูนเพื่อเตือนตู่” : จากปรากฏการณ์ “ตื่นตูน” ถึงปฏิบัติการสร้าง “หลา-กลาง” ประชาสังคมภาคใต้ (ตอนที่ 2)
จากข้อมูลภาคสนามและสื่อสังคมออนไลน์ เราต่างพบกับการปฏิบัติเคลื่อนไหวต่อต้าน “แบบเปิด” ในเงื่อนไขที่ถูก “ปิดล้อม” โดยอิงชิดสนิทแนบกับเหตุการณ์กิจกรรมที่อยู่ในกระแสความสนใจ ตื่นตามในชีวิตประจำวัน ด้วย “จินตนาการและการพรางตัวที่คาดไม่ถึง” เช่น “ชูตูนเพื่อเตือนตู่” ป้ายเรียกร้องการแก้ไขปัญหาราคายางตกต่ำที่ผุดโผล่แบบนิรนาม จึงมีไม่น้อยในครั้งนี้!!!!
สถานการณ์และการสร้าง “ทางที่สาม” ของประชาสังคมภาคใต้ / รศ.ดร.ณฐพงศ์  จิตรนิรัตน์
สถานการณ์และการสร้าง “ทางที่สาม” ของประชาสังคมภาคใต้ / รศ.ดร.ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์
ความท้าทายและข้อเสนอในวันนี้จึงอยู่ที่การผนึก “สานพลัง” ภาคีความร่วมมือ เพื่อการเรียนรู้ เปล่งเสียงแสดง ยืนยันไม่ยอมจำนนกับระบอบใหม่ การแสดงพลังปกป้องฐานฐานทรัพยากรที่เป็นฐานที่มั่นสำคัญ ปฏิบัติการเคลื่อนยกระดับประเด็นงาน สถานการณ์เชิงพื้นที่ให้เห็น “ภาพรวม”...ความหวังการเปลี่ยนผ่านเชิงคุณภาพและสันติวันนี้อยู่ที่ “ขบวนการประชาสังคม” ที่ต้องลุกเริ่มก่อการเท่านั้น