xs
xsm
sm
md
lg

การแพทย์แม่นยำ

“ศ.นพ.มานพ”ทวีตผู้ป่วยประกันสังคม มีตัวเลือกการใช้ยา-ตรวจวินิจฉัยด้อยกว่าบัตรทอง
 
ศ.นพ.มานพ พิทักษ์ภากร หัวหน้าศูนย์วิจัยการแพทย์แม่นยำ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล โพสต์ทวิตเตอร์ ระบุว่า“ในฐานะคนนอก สิ่งแรกที่ควรทำและทำได้เลยคือข้อ 10-11 ทุกวันนี้ผู้ป่วยสิทธิ ปกส มีตัวเลือกการใช้ยา และการตรวจวินิจฉัยต่างๆ ด้อยก
 

ทันเหตุการณ์

จับมือรุกใช้ "จีโนมิกส์" คุม "วัณโรค" เดินหน้าตรวจพันธุกรรมเชื้อ
จับมือรุกใช้ "จีโนมิกส์" คุม "วัณโรค" เดินหน้าตรวจพันธุกรรมเชื้อ
 
กรมวิทย์พร้อมหนุนงานวิจัย ถ่ายทอดเทคโนโลยี ดัน ธุรกิจสุขภาพ คาดโต 2.5 ล้านล้านบาทใน 10 ปี พร้อมเซ็น MOU ร่วม JICA กรมควบคุมโรค นำการแพทย์แม่นยำ จีโนมิกส์ คุม วัณโรค ด้วยการถอดรหัสพันธุกรรมเชื้อ นำร่อง เชียงราย ต้นแบบ หนุนยุต
 

ชุมชน-คุณภาพชีวิต

“หมอมานพ”ยกผลศึกษาฉีดวัคซีน J&J เข็มเดียวอาจไม่พอ
 
ศ.นพ.มานพ พิทักษ์ภากร หัวหน้าศูนย์วิจัยการแพทย์แม่นยำ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล โพสต์เฟซบุ๊ก ระบุว่า เห็น paper นี้ก็เป็นห่วงว่าแผนการจัดหาวัคซีนของไทย อาจต้องพิจารณา JJ vaccine ใหม่อีกที เพราะวัคซีนเข็มเดียวอาจไม่พองานวิจัยนี้
 

ทันเหตุการณ์

แพทย์ศิริราชเชื่อภายในเดือนนี้โควิดสายพันธุ์เดลตาจะเป็นสายพันธุ์หลักของประเทศ
 
นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร หัวหน้าศูนย์วิจัยเป็นเลิศด้านการแพทย์แม่นยำ ศูนย์จีโนมิกส์ศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โพสต์เฟซบุ๊ก ระบุว่า การล็อกดาวน์แบบเต็มรูปแบบเหมือนช่วงเดือนเมษายนปีที่ผ่านมา เป็นทางเลือกสุดท้ายในการตัดตอนการ
 

ทันเหตุการณ์

รพ.รามาฯ ทำธนาคารชีวภาพโรคมะเร็ง เก็บเนื้อเยื่อวิเคราะห์ดีเอ็นเอ หวังรักษาแม่นยำ
รพ.รามาฯ ทำธนาคารชีวภาพโรคมะเร็ง เก็บเนื้อเยื่อวิเคราะห์ดีเอ็นเอ หวังรักษาแม่นยำ
 
รพ.รามาธิบดีจับมือสถาบันมะเร็งฯ ทำธนาคารชีวภาพโรคมะเร็งครบวงจร เก็บเนื้อเยื่อมะเร็งผู้ป่วยที่ยินยอมทำการแช่แข็งอุณหภูมิ -80 องศา เพื่อศึกษาลักษณะดีเอ็นเอมะเร็งแต่ละชนิด การตอบสนองต่อยาต่างๆ หวังรักษาได้ตรงเป้า แม่นยำมากขึ้น เป็นฐา
 

ชุมชน-คุณภาพชีวิต

เร่งวิจัย “ภูมิคุ้มกันบำบัด” ฆ่าเซลล์มะเร็งเต้านมในร่างกาย คาดอีก 1 ปี รู้ผลชัด!!
เร่งวิจัย “ภูมิคุ้มกันบำบัด” ฆ่าเซลล์มะเร็งเต้านมในร่างกาย คาดอีก 1 ปี รู้ผลชัด!!
 
กรมวิทย์ร่วมศูนย์สิริกิติ์ฯ พัฒนาตรวจยีน “มะเร็งเต้านม” ช่วยวางแผนรักษาแบบเจาะจง แม่นยำมากขึ้น เลี่ยงความเสี่ยงแพ้ยา ลดการการให้ยาเคมีบำบัดได้กว่า 30% เร่งศึกษา “ภูมิคุ้มกันบำบัด” เผยระดับหลอดทดลองฆ่าเซลล์มะเร็งเต้านมได้ดี คาดอีก 1 ปีรู้ผลวิจัยในคนฆ่าเซลล์มะเร็งเต้านมได้หรือไม่
 

ชุมชน-คุณภาพชีวิต